ไฟล์ต้นฉบับ(1,500 × 2,176 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 1.86 เมกะไบต์, ชนิดไมม์: image/jpeg)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

คำอธิบาย
English: Phraya Laphanarinrueangsak (Wong Charuchinda), a Siamese nobleman
  • Names:
    • Noble title: Phraya Laphanarinrueangsak
    • Given name: Wong
    • Family name: Charuchinda
  • Birth: 20 February 2427 BE (1885 CE)
  • Family:
    • Father: Chaophraya Surabodin Surinluechai (Phon Charuchinda)
    • Mother: Bunrot
    • Wife: Soem, daughter of Phraya Phiphitthaphanwichan (Charoen Chotikasathian)
  • Education:
    • 2445 BE (1902/03 CE) - student at Law School, Ministry of Justice of Siam
    • 2450 BE (1907/08 CE) - barrister-at-law, Siamese Bar Association
  • Career:
    • 2451 BE (1908/09 CE) - judge, Nan Province
    • 2456 BE (1913/14 CE) - judge, Nakhon Chai Si Circle Court
    • 2457 BE (1914/15 CE) - judge, Samut Sakhon Provincial Court
    • 2461 BE (1918/19 CE) - acting chief judge, Surat Circle Court
    • 2462 BE (1919/20 CE) - acting chief judge, Pattani Circle Court
    • 2463 BE (1920/21 CE) - chief judge, Pattani Circle Court
    • 2465 BE (1922/23 CE) - judge, Court of Appeal, Bangkok
    • 2472 BE (1929/30 CE) - judge, Royal Criminal Court, Bangkok
  • Noble titles:
    • 2448 BE (1905/06 CE) - Luang Nora-at-bancha
    • 2459 BE (1916/17 CE) - Phra Thipmonthadun Manunnirukti
    • 2463 BE (1920/21 CE) - Phraya Laphanarinrueangsak
  • Death: 10 April 2474 CE (1931 CE), typhoid fever
ไทย: พระยาลพะนรินทร์เรืองศักดิ์ (วงศ์ จารุจินดา) ขุนนางชาวสยาม
  • เกิด: ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๗
  • ครอบครัว:
    • บิดา: เจ้าพระยาสุรบดินทรสุรินทรฦๅชัย (พร จารุจินดา)
    • มารดา: บุญรอด
    • ภริยา: เสริม บุตรีพระยาพิพิธภัณฑวิจารณ์ (เจริญ โชติกเสถียร)
  • การศึกษา:
    • พ.ศ. ๒๔๔๕ นักเรียนในโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม
    • พ.ศ. ๒๔๕๐ เนติบัณฑิตสยาม
  • การงาน:
    • พ.ศ. ๒๔๕๑ ผู้พิพากษา จังหวัดน่าน
    • พ.ศ. ๒๔๕๖ ผู้พิพากษา ศาลมณฑลนครชัยศรี
    • พ.ศ. ๒๔๕๗ ผู้พิพากษา ศาลจังหวัดสมุทรสาคร
    • พ.ศ. ๒๔๖๑ ว่าที่อธิบดีผู้พิพากษา ศาลมณฑลสุราษฎร์
    • พ.ศ. ๒๔๖๒ ว่าที่อธิบดีผู้พิพากษา ศาลมณฑลปัตตานี
    • พ.ศ. ๒๔๖๓ อธิบดีผู้พิพากษา ศาลมณฑลปัตตานี
    • พ.ศ. ๒๔๖๕ ผู้พิพากษา ศาลอุทธรณ์ กรุงเทพฯ
    • พ.ศ. ๒๔๗๒ ผู้พิพากษา ศาลพระราชอาชญา กรุงเทพฯ
  • บรรดาศักดิ์:
    • พ.ศ. ๒๔๔๘ หลวงนรอัฏบัญชา
    • พ.ศ. ๒๔๕๙ พระทิพย์มณฑาดุลมนุญนิรุกตี
    • พ.ศ. ๒๔๖๓ พระยาลพะนรินทร์เรืองศักดิ์
  • ตาย: ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๔ ไข้รากสาดน้อย
วันที่
แหล่งที่มา
image extraction process
ไฟล์นี้ถูกแยกมาจากไฟล์อื่น
:อาญาหลวง ราษฎร์ - ๒๔๗๔.pdf
original file
ผู้สร้างสรรค์ Unknown authorUnknown author

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน23:51, 30 กรกฎาคม 2566รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:51, 30 กรกฎาคม 25661,500 × 2,176 (1.86 เมกะไบต์)YURiUploaded a work by {{unknown author}} from {{extracted from|อาญาหลวง ราษฎร์ - ๒๔๗๔.pdf}} with UploadWizard

1 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์