งานแปล:หนังสือฝากนายสีโหม้ไปถึงแหม่มฌีก

หนังสือฝากนายสีโหม้ไปถึงแหม่มฌีก (ค.ศ. 1898)
โดย สีโหม้ วิชัย, แปลจากภาษาล้านนา โดย วิกิซอร์ซ
นายสีโหม้ วิชัย (บางครั้งสะกดว่า ศรีโหม้) คนเชียงใหม่คนแรกที่ได้ไปอเมริกา ได้เขียนจดหมายไปถึงแหม่มซาราห์ อะดอร์นา ฌีก (Mrs. Sarah Adorna Cheek) บุตรสาวของหมอบรัดเล เพื่อแสดงความยินดีในเรื่องที่นายแพทย์ฌีก (Dr. Marion Alonzo Cheek) สามีของเธอ ได้ชนะคดีความฟ้องร้องกับรัฐบาลสยามเกี่ยวกับสัมปทานค้าไม้ จดหมายนี้ ต้นฉบับได้เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุโอเบอร์ลิน (Oberlin Archive) รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา
ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵
May. 6. 1898.


เชียงไหม่
6 พฤษภาคม 1898[1]

          ᨡ᩶ᩣᨽᨧᩮᩢ᩶ᩣ​ᨡᩬᩴ​ᩈᨯᩯ᩠ᨦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩁ᩠ᨠᩢ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨶ᩠ᨷᩢᨳᩨ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨾᩣ​ᨳᩮᩥ᩠ᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᩓ​ᨶᩣ᩠ᨿᨯᩬᨠ᩼ᩉ᩠ᨾᩬᨯ​ᩓ​ᩃᩋ᩵ᩬᩁ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤᩫ᩠ᨶ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨲ᩠ᨦᩢ᩶ᨲᩯ᩵​ᩅ᩠ᨶᩢ​ᨡ᩶ᩣ​ᨯᩱ᩶​ᩋᩬᨠ᩼​ᨧᩣ᩠ᨠ​ᨷ᩠ᨦᩢᨠᩬᨠ​ᨡ᩠ᨶᩨ᩶​ᨾᩣ​ᨲᩣ᩠ᨾ​ᨴᩣ᩠ᨦ​ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨯᩦ ᨾᩮᩬᩦ᩵ᩋ​ᨹᩯ᩠ᩅ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᩓ᩠ᩅ​ᨾᩯ᩵​ᩓ​ᨾᩮ᩠ᨿ​ᩃᩪᨠ᩼​ᨣᩴ​ᩀᩪ᩵​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨯᩦ ᩓᩯ᩵​ᨡ᩶ᩣ​ᨯᩱ᩶​ᨷᩬᨠ᩼​ᩃᩮᩢ᩵ᩣ​ᩉᩮ᩠ᨲᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩩᨠ᩼ᩈ᩠ᨦᩦ᩵​ᨶᩱ​ᩁᩮᩬᩦ᩵ᨦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ ᩅ᩵ᩤ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯᩦ​ᨣᩪᨦ​ᨧᩢ᩠ᨠ​ᨩ᩠ᨶᩡ​ᨸᩮ᩠ᨶᨶᩯ᩵ ᨾᩯ᩵​ᨣᩴ​ᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨶ᩠ᨠᩢ ᨪᩣᩴ᩶​ᨻᩣ᩠ᨿᩃᩪᩁ​ᨾᩣ​ᩈ᩠ᨠᩢ​ᩈ᩠ᨷᩥᩉ᩶ᩣ​ᩅ᩠ᨶᩢ ᨯᩱ᩶ᨿ᩠ᨶᩦ​ᨡ᩵ᩣ᩠ᩅ​ᩋ᩠ᨶᩢ​ᨯᩦᨳᩯ᩠ᨾ​ᩅ᩵ᩤ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯᩱ᩶​ᨲ᩠ᨯᩢᩈ᩠ᨶᩦ​ᩓ᩠ᩅ ᨯᩱ᩶​ᨩᩱ᩠ᨿᨩ᩠ᨶᩡ​ᩈ᩠ᨾᩫ​ᨯ᩠ᨦᩢ᩵​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾ᩠ᨠᩢ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨷᩕᩣᨳ᩠ᨶᩣ​ᨴᩯ᩶ ᨡ᩶ᩣ​ᩓ​ᨾᩯ᩵​ᨾᩮ᩠ᨿ​ᩃᩪᨠ᩼ ᩓ​ᨤᩫ᩠ᨶ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨴᩦ​ᨸᩮ᩠ᨶ​ᩃᩪᨠ᩼ᨧ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨠᩮᩢ᩵ᩣ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨣᩴᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨸᩦᨲᩥᨿ᩠ᨶᩦᨯᩦ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤ᩠ᨶᩫ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨠᩬ᩵ᩁᨾᩮᩬᩦᩋ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨷᩴ​ᨲ᩠ᨯᩢᩈ᩠ᨶᩦ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨣᩴᨾᩦ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴᩩᨠ᩼ᩁ᩶ᩬᩁ​ᨧᩱ​…​ᨠ᩠ᩅᩫ​ᩅ᩵ᩤ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨷᩴ​ᨩ᩠ᨶᩡ​ᨡᩮᩢᩣ ᨴᩩᨠ᩼​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨣᩴ​ᩁ᩶ᩬᩁᨧᩱ​ᩀᩪ᩵ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᩁᩮᩬᩦ᩵ᨦ​ᨶᩦ᩶​ᨳ᩵ᩣ​ᨷᩴᨯᩱ᩶​ᨶᩣ᩠ᨿᨾᩥᩔᨲᩮᩬᩥ​ᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨩ᩠ᩅ᩠ᨿ᩵​ᩉ᩠ᨶᩢ​ᨧᩢ​ᨲᩮ᩠ᨾ​ᨵᩦ ᨶᩣ᩠ᨿᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨯᩱ᩶​ᨩ᩠ᩅ᩠ᨿ᩵​ᩐᩣ​ᨧᩱᩈᩱ᩵​ᨶ᩠ᨠᩢᨠ᩠ᩅ᩵ᩣ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩋ᩠ᨶᩨ᩵ ᨶᩱ​ᨲ᩠ᩅᩫᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨶ᩠ᨷᩢᨳᩨ​ᩅ᩵ᩤ​ᨶᩣ᩠ᨿᨤᩯᩃᩮ᩠ᨯ​ᨣᩴᨸᩮ᩠ᨶ​ᩉ᩠ᨾᩬᩴᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾ​ᨯᩦ​ᨤ᩠ᨶᩫᨶ᩠ᨦᩨ​ᩓ

          ข้าภะเจ้าขอสะแดงความรักแลความนับถือแลความยีนดีมาเถิงแม่เลี้ยง[2]แลนายดอกหมอด[3]แลละอ่อนทุกคน ด้วยตั้งแต่วันข้าได้ออกจากบังกอกขื้นมาตามทางข้าค็สะบายดี เมื่อแผวบ้านแล้วแม่แลเมียลูกค็อยู่สะบายดี แล่ข้าได้บอกเล่าเหตกานทุกสี่งในเรื่องฅวามของแม่เลี้ยง[4] ว่าฅวามของแม่เลี้ยงดีคูงจักชนะเปนแน่ แม่ค็มีฅวามยีนดีนัก ซ้ำพายลูนมาสักสิบห้าวันได้ยีนข่าวอันดีแถมว่าฅวามของแม่เลี้ยงตัดสีนแล้ว ได้ไชยชนะ[5]สมดั่งฅวามมักฅวามปราถนาแท้ ข้าแลแม่เมียลูก แลฅนทังหลายทีเปนลูกจ้างเก่าของแม่เลี้ยงค็มีฅวามปีติยีนดีทุกฅน ด้วยก่อนเมือฅวามยังบ่ตัดสีนฅนทังหลายค็มีฅวามทุกร้อนไจ...กัวว่าฅวามของแม่เลี้ยงจักบ่ชนะเขา ทุกฅนค็ร้อนไจอยู่ ด้วยฅวามเรื่องนี้ถ่าบ่ได้นายมีสสเทอแฅเลด[6]ช่วยหันจักเตมธี นายแฅเลดได้ช่วยเอาไจไส่นักกว่าฅนอื่น ไนตัวข้าค็นับถือว่านายแฅเลดค็เปนหมอฅวามดีฅนนื่งแล

          ᩋ᩠ᨶᩢᨶ᩠ᨦᩨ​ᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩦ​ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨵᩣᩴ​ᩀᩪ᩵​ᨴᩩᨠ᩼​ᩅ᩠ᨶᩢᨶᩦ​ᨣᩴ​ᨧᩣᩴᩁᩮᩦ᩠ᨬ​ᨯᩦ​ᩀᩪ᩵ ᨠᩣ᩠ᨶ​ᨴᩦ​ᨧᩢ​ᨵᩣᩴ​ᨣᩴ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨾᩦ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᩀᩪ᩵ ᩉᩖ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩈ᩠ᨦᩫᩈᩱ​ᩅ᩵ᩤᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᨴᩦ​ᨿᩢ᩠ᨦ​ᩀᩪ᩵​ᨶᩦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨡᩣ᩠ᨿ​ᩈ᩠ᨿ᩶ᨦ ᨳ᩵ᩣ ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨧᩢ​ᨡᩣ᩠ᨿᩈᩮ᩠ᨿ​ᨴᩯ᩶ ᨣᩴ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣ​ᩈᩮ᩠ᨿᨯᩣ᩠ᨿ​ᨶ᩠ᨠᩢ ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨵᩣᩴᨠᩣ᩠ᨶ​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨠ᩵ᩣᩴᩃᩱ​ᨯᩦ​ᨴᩩᨠ᩼​ᨸ᩠ᩃᩦ ᨳᩮᩦ᩠ᨦᩅ᩵ᩤ​ᨸ᩵ᩣᨾᩱ᩶​ᨡᩬᨦ​ᩁᩮᩢᩣ​ᨷᩴᨾᩦ ᨤ᩠ᨶᩫ​ᩋ᩠ᨶᩨ​ᨹᩪ᩶​ᨾᩦ​ᨸ᩵ᩣᨾᩱ᩶​ᨣᩴ​ᩀᩣ᩠ᨠ​ᨤᩱ᩵​ᩉᩨ᩶​ᩁᩮᩢᩣ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᨵᩣᩴ​ᨴ᩠ᩅ᩠ᨿ​ᨲᩮ᩠ᨾᨵᩦ

          อันนืงกานทีช้างเราธำอยู่ทุกวันนีค็จำเริญดีอยู่ กานทีจะธำค็ยังมีนักอยู่ หล้างฅนสงไสว่าช้างทียังอยู่นี แม่เลี้ยงจะขายเสี้ยง ถ่าแม่เลี้ยงจะขายเสียแท้ ค็หน้าเสียดายนัก ด้วยช้างเราธำกานค็ได้ก่ำไลดีทุกปลีเถิงว่าป่าไม้ของเราบ่มี ฅนอืนผู้มีป่าไม้ค็อยากไฅ่หื้อเราเข้าธำทวยเตมธี

      ᨴᩦ​ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨾᩱ᩶ᩈ᩠ᨠᩢ​ᨻᩯ᩠ᨦ​ᨴᩦᩈᩩᨯ ᨾᩱ᩶​ᩋ᩠ᨶᩨᩋ᩠ᨶᩨ​ᨲ᩵ᩣ᩠ᨦᨲ᩵ᩣ᩠ᨦ​ᨣᩴ​ᨻᩯ᩠ᨦ​ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶​ᨴᩩᨠ᩼ᩀ᩵ᩣ᩠ᨦ ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨧᩮᩢ᩶ᩣᨶᩣ᩠ᨿ​ᨠᩣᩴ᩵ᩃ᩠ᨦᩢ​ᨵᩣᩴ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᩉ᩠ᨶᩫᨴᩣ᩠ᨦ​ᨳᩯ᩠ᨾᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᩉᩖᩣ᩠ᨿ​ᩉᩯ᩠ᨦ᩵​ᩉᩖᩣ᩠ᨿ​ᨲ᩵ᩣᩴᨷ᩠ᨶᩫ ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩉ᩠ᨠᩫ​ᩅᩤ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨻᩱ​ᨴᩣ᩠ᨦ​ᩅ᩠ᨶᩢᨲ᩠ᨠᩫ ᨣᩴ​ᨲ᩠ᨯᩢ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᨳᩯ᩠ᨾᩉᩱ᩠ᨾ᩵ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨴᩮ​ᩐᩣ​ᩈᩮ᩠ᨿ​ᩈᩬᨦ​ᩅᩤ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨷᩪᩁᨿᩦ᩵​ᨯᩱ᩶​…​ᨴᩮ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᩈᩬᨦ​ᩅᩤ​ᨸᩣ᩠ᨿ ᨴᩦ᩵​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡᩬᨦ​ᨾᩯ᩵ᩃ᩠ᨿ᩶ᨦ​ᨯ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨲᩱ᩶​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨿ᩶ᩣ᩠ᨿ​ᩌ᩠ᩅᩫ​ᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᩅᩤ​ᨸᩣ᩠ᨿ ᨴᩦ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨡ᩶ᩣ​ᨯ᩠ᨿ᩵ᩅᨶᩦ᩶​ᨾᩦ​ᩈ᩠ᨶ᩠ᨶᩫ​ᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨾᩣ​ᩉ᩠ᨶ᩶ᩣ​ᨷ᩶ᩣ᩠ᨶ​ᨠ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨦ​ᩉ᩠ᨠᩫ​ᩅᩤ​ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ​ᨾᩣ​ᩉᩮᩖᩬᩥᩋ​ᨠ᩠ᩅ᩵ᩣ​ᨲᩯ᩵ᨠᩬ᩵ᩁ ᨴᩣ᩠ᨦᨶᩱ​ᩅ᩠ᨿᨦ​ᨣᩴ​ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ​ᩉᩮᩖᩬᩥᩋ​ᨲᩯ᩵ᨠᩬ᩵ᩁ

          ทีเชียงไหม่เดี่ยวนี้ไม้สักแพงทีสุด ไม้อืนอืนต่างต่างค็แพงด้วยทุกอย่าง เดี่ยวนี้เจ้านายก่ำลังธำสนนหนทางแถมไหม่หลายแห่งหลายต่ำบน กว้างหกวาทีบ้านข้าไพทางวันตก ค็ตัดสนนแถมไหม่ ทีบ้านข้าค็เทเอาเสียสองวา ทีบ้านบูนยี่ได้...เทเข้าสองวาปาย ทีบ้านของแม่เลี้ยงด้านไต้ค็ได้ย้ายฮัวเข้าวาปาย ทีบ้านข้าเดี่ยวนี้มีสนนไหม่มาหน้าบ้านกว้างหกวาม่วนมาเหลือกว่าแต่ก่อน ทางไนเวียงค็ม่วนเหลือแต่ก่อน

      ᨶᩱ​ᨤᩬᨷᨤ᩠ᩅᩫ​ᨡᩬᨦ​ᨡ᩶ᩣᨽᨧᩮᩢ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨿ᩠ᨦᩢ​ᨧᩣᩴᩁᩮᩥ᩠ᨬ​ᨯᩦ​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ ᩀᩪ᩵​ᨴᩩᨠ᩼​ᩈ᩠ᨦᩦ᩵ ᨡ᩶ᩣ​ᨣᩴ​ᨯᩱ᩶​ᨻᩱ​ᨸ᩵ᩣ​ᨾᩱ᩶​ᨶᩱ​ᩅ᩠ᨶᩢᨶᩦ᩶​ᩓ ᨧᩢ​ᨡ᩠ᨿᩁ​…​ᨾᩣ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᨣᩴᨷᩴ​ᩈᩪ᩶​ᨯᩱ᩶ ᨽᩰᩬᩡ​ᨲᩣ​ᨡ᩶ᩣ​ᨷᩴ​ᩈᩪ᩶​ᩈᨷᩣ᩠ᨿ​ᨴᩩᨠ᩼ᩅ᩠ᨶᩢ​ᨶᩦ᩶​ᨧᩢ​ᩋ᩵ᩣ᩠ᨶ​ᩉ᩠ᨶ᩠ᨦᩢᩈᩨ​ᨶ᩠ᨠᩢ​ᨣᩴᨷᩴ​ᨯᩱ᩶ ᨡ᩶ᩣ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᩀᩣ᩠ᨠ​ᨤᩱ᩵​ᩉᩨ᩶​ᨶᩣ᩠ᨿᨯᩬᨠ᩼ᩡ​ᨶᩣ᩠ᨿᨡᩮᩢ᩶ᩣ​ᨾᩣ​ᨩ᩠ᨿᨦᩉᩱ᩠ᨾ᩵​ᨴᩯ᩶ᨴᩯ᩶ ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨣᩴ​ᨳᩣ᩠ᨾᩉᩣ​ᩀᩪ᩵​ᩈᩮ᩠ᨾᩬᩥ

          ไนฅอบฅัวของข้าภะเจ้าค็ยังจำเริญดีสะบาย อยู่ทุกสี่ง ข้าค็ได้ไพป่าไม้ไนวันนี้แล จะเขียน...มานักค็บ่สู้ได้เภาะตาข้าบ่สู้สะบายทุกวันนี้จะอ่านหนังสือนักค็บ่ได้ ข้าทังหลายอยากไฅ่หื้อนายด็อกนายเข้ามาเชียงไหม่แท้แท้ ฅนทังหลายค็ถามหาอยู่เสมอ

      ᨡᩬᩴ​ᩉᩨ᩶​ᨻᩕᨣᩪᩁ​ᩓ​ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩈᩩᨠ᩠ᨡ᩼​ᩈᩣᩴᩁᩣ᩠ᨬ ᩓ​ᨻᩕᩅᩥᨬᩣ᩠ᨱ​ᨯᩣᩴᩁ᩠ᨦᩫ​ᩀᩪ᩵​ᨶᩱ​ᨴ᩵ᩣ᩠ᨶ​ᨴᩢ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ​ᨴᩩᨠ᩼ᨤ᩠ᨶᩫ​ᨯ᩠ᩅ᩠ᨿ᩶

          ขอหื้อพระคูนแลฅวามสุกข์สำราญ แลพระวิญาณดำรงอยู่ไนท่านทังหลายทุกฅนด้วย

เชิงอรรถของวิกิซอร์ซ แก้ไข

หมายเหตุ แก้ไข

  1. พ.ศ. 2441
  2. แหม่มซาราห์ อะดอร์นา ฌีก (Mrs. Sarah Adorna Cheek) บุตรสาวของหมอบรัดเลย์ และภรรยาของนายแพทย์ฌีก (Dr. Marion Alonzo Cheek) ผู้ซึ่งครอบครัวของสีโหม้มีความสนิทสนมด้วยเป็นอย่างมาก มารดาของสีโหม้นางวรรณดี ก็เป็นพี่เลี้ยงให้บุตรและบุตรีของนายแพทย์ฌีก
  3. บุตรสาวของแหม่มฌีก คือมิสเอดิธ มอด ฌีก (Mrs. Edith Maud Cheek), คำว่านาย ในภาษาล้านนา เป็นคำนำหน้าถึงผู้เป็นเจ้านายหรือมีฐานะสูงกว่า ใช้ได้กับทั้งชายและหญิง
  4. คดีความระหว่างหมอฌีกและรัฐบาลสยาม สืบเนื่องจากสัมปทานค้าไม้ ซึ่งหมอฌีกมีความขัดแย้งกับรัฐบาลสยามจนถึงขั้นที่ถูกรัฐบาลสยามอายัดทรัพย์อันได้แก่ไม้และช้าง คดีนี้เกี่ยวพันไปถึงนายหลุยส์ ที. ลีโอโนเวนส์ (บุตร นางแอนนา ลีโอโนเวนส์) อีกด้วย
  5. ในภายหลังรัฐบาลสยามได้แพ้คดีและต้องจ่ายเงินชดเชยให้กับครอบครัวของหมอฌีก
  6. มิสเตอร์ อี. วี. แกลเล็ต นักกฏหมายชาวอเมริกัน และมีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยกงสุลอเมริกันในเชียงใหม่ ได้เข้าช่วยเหลือเป็นทนายความให้หมอฌีก

อ้างอิง แก้ไข

  • กมลธร ปาละนันทน์ (2561). โลกทัศน์ของสีโหม้วิชัยในยุคเปลี่ยนผ่านของสังคมล้านนา พ.ศ.2432-2481. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
    งานนี้เป็นงานแปล ซึ่งมีสถานะทางลิขสิทธิ์แยกต่างหากจากงานต้นฉบับ
งานต้นฉบับ:
 

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก
 
งานแปล:
 

ข้าพเจ้า ผู้ถือลิขสิทธิ์ในงานนี้ ให้งานนี้เป็นสาธารณสมบัติ คำประกาศนี้ให้มีผลทั่วโลก
ถ้าคำประกาศดังกล่าวไม่อาจเป็นไปได้ในทางกฎหมาย ข้าพเจ้าก็ให้ทุกคนมีสิทธิใช้งานนี้ได้ในทุกกรณี โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ เว้นแต่ที่กฎหมายกำหนด