๓๔๓
|
|
ประกาศให้ใช้ตราสำหรับตำแหน่ง ร.ศ. ๑๑๔
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๓
|
๓๔๔
|
|
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความมีโทษสำหรับใช้ไปพลางก่อน ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๔
|
หมวดที่ ๑ ว่าด้วยลักษณไต่สวนก่อนเวลาพิจารณา
|
|
|
มาตรา๑ห้ามไม่ให้จับกุมกักขังโดยไม่มีหมายจับ ยกเสียแต่จับกุมกำลังทำผิดฤๅสงไสยว่าจะหนี
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๕
|
|
|
มาตรา๒คนต้องจับกุมมาถึงที่ขังแล้ว ต้องจดบาญชีตามเหตุที่ต้องจับนั้น
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๖
|
|
|
มาตรา๓ต้องไต่สวนใน ๔๘ ชั่วโมงตั้งแต่จับตัวมา ถ้าช้าไปด้วยเหตุใด ต้องจดหมายไว้ตามเหตุนั้น
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๗
|
|
|
มาตรา๔ให้ไต่สวนพิเคราะห์ดูตามถ้อยคำที่สาบาลเปนหลักฐานว่าเปนพิรุธฤๅไม่
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๗
|
|
|
มาตรา๕คู่ความซักพยานได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๘
|
|
|
มาตรา๖ให้ผู้พิพากษามีคำสั่งตามคำพยานชั้นต้นที่พิรุธฤๅไม่
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๘
|
หมวดที่ ๒ ว่าด้วยการชำระเปนความแผ่นดิน
|
|
|
มาตรา๗ความหลวงไม่มีโจทย์ ให้ชำระเปนความแผ่นดินตามคำพยาน
|
|
น่า
|
|
๑๙๓๙
|
|
|
มาตรา๘ให้เจ้าพนักงานกองตระเวรแลกองไต่สวนช่วยเสาะหาพยานให้ชำระ
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๐
|
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยลักษณพิจารณา
|
|
|
มาตรา๙คู่ความแต่งทนายช่วยว่าความได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๑
|
|
|
มาตรา๑๐ถึงกำหนดชำระ โจทย์ไม่มา ก็ให้ยกฟ้องเสีย เว้นแต่มีเหตุที่ควรเลื่อนเวลาชำระต่อไป
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๑
|
|
|
มาตรา๑๑โจทย์หา จำเลยให้การรับแล้ว ให้ตัดสินลงโทษ
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๒
|
|
|
มาตรา๑๒ถ้าจำเลยไม่รับ ให้ศาลซักไซ้จำเลยและพยานทั้งสองฝ่าย
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๒
|
|
|
มาตรา๑๓จำเลยให้การแก้ได้เต็มที่ และซักถามพยานได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๒
|
|
|
มาตรา๑๔พยานต้องให้การเรียงตัวกันโดยลำดับตามที่ศาลจะบังคับ
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๓
|
|
|
มาตรา๑๕วิธีสืบพยาน ใช้ตามพระราชบัญญัติลักษณพยาน ร.ศ. ๑๑๓
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๓
|
|
|
มาตรา๑๖คู่ความจะขอให้พยานให้การอีกครั้งหนึ่ง ฤๅให้พยานไปจากศาล ๆ ก็สั่งได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๓
|
|
|
มาตรา๑๗ให้ศาลพิเคราะห์ดูว่าควรพิจารณาข้อหาข้อใดก่อนและหลัง
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๔
|
|
|
มาตรา๑๘เริ่มชำระแล้ว ก็ให้ชำระต่อไปให้แล้ว อย่าให้ชักช้า
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๔
|
|
|
มาตรา๑๙เมื่อฟังคำพยานและคำชี้แจงของคู่ความแล้ว ให้ศาลตัดสิน
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๔
|
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยลักษณพิพากษาตัดสิน
|
|
|
มาตรา๒๐เมื่อชำระแล้ว ให้ตัดสินไม่ช้ากว่า ๓ วัน
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๕
|
|
|
มาตรา๒๑คำตัดสินต้องเขียน
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๕
|
|
|
มาตรา๒๒คำตัดสินต้องชี้ขาดในข้อ
ต่าง ๆ คือ
|
|
|
ข้อ๑จำเลยผิดดังฟ้องฤๅไม่
|
|
|
ข้อ๒จำเลยทำผิดโดยเหตุดังที่หาฤๅที่แก้นั้นฤๅไม่
|
|
|
ข้อ๓จำเลยทำผิดโดยเหตุดังที่แก้แล้ว มีบทกฎหมายยกเว้นฤๅไม่ ถ้าชี้ขาดว่าจำเลยไม่ผิด ก็ให้สั่งปล่อย ถ้าชี้ขาดว่าผิดโดยเหตุอย่างใด ก็ให้วางบทกฎหมายตามเหตุนั้น ให้มีกำหนดโทษด้วย
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๕
|
|
|
มาตรา๒๓ให้ตัดสินโดยที่เห็นมากกว่า
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๗
|
หมวดที่ ๕ ว่าด้วยลักษณอุทธรณ์
|
|
|
มาตรา๒๔คู่ความอุทธรณ์ได้ใน ๑๕ วัน
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๙
|
|
|
มาตรา๒๕คำฟ้องอุทธรณ์ต้องให้เก็บใจความตามเหตุความจริงและตามบทกฎหมาย อย่าให้เรียกผู้พิพากษามาเปนจำเลย
|
|
น่า
|
|
๑๙๔๙
|
|
|
มาตรา๒๖ถ้าผู้อุทธรณ์ติดตรางอยู่ จะยื่นฟ้อง ให้ผู้คุมไปยื่นต่อศาลก็ได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๐
|
|
|
มาตรา๒๗ให้ศาลอันต้องอุทธรณ์ยื่นสำนวนแลคะำฟ้องต่อศาลอุทธรณ์ใน ๕ วัน
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๐
|
|
|
มาตรา๒๘ให้ศาลอุทธรณ์กำหนดวันชำระใน ๑๕ วัน เว้นแต่มีเหตุขัดข้อง แต่อย่าให้ช้าเกินกว่า ๒ เดือน
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๐
|
|
|
มาตรา๒๙ให้นัดคู่ความก่อน ๕ วัน
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๑
|
|
|
มาตรา๓๐ชำระความอุทธรณ์นั้น ให้อ่านสำนวนและฟังคำชี้แจงของคู่ความ
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๑
|
|
|
มาตรา๓๑ศาลอุทธรณ์ฤๅคู่ความจะเรียกพยานเก่าใหม่สืบก็ได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๑
|
|
|
มาตรา๓๒ความในมาตรา ๑๒–๑๔–๑๕ และ ๑๖ ให้ชำระชั้นอุทธรณ์ด้วย
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๑
|
|
|
มาตรา๓๓ศาลอุทธรณ์ชำระแล้ว ต้องตัดสินใน ๓ วัน
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๒
|
|
|
มาตรา๓๔ศาลอุทธรณ์แก้คำตัดสินได้ตามความเห็น
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๓
|
|
|
มาตรา๓๕ค่าธรรมเนียม
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๓
|
หมวดที่ ๖ ว่าด้วยลักษณโทษตามคำพิพากษาตัดสิน
|
|
|
มาตรา๓๖คำตัดสินความมีโทษเปนที่สุดเมื่อ (๑) ศาลชั้นแรกตัดสินแล้วไม่มีอุทธรณ์ (๒) และเมื่อศาลอุทธรณ์ได้ตัดสินแล้ว
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๓
|
|
|
มาตรา๓๗คำตัดสินถึงที่สุดให้ปล่อยแล้ว จะกลับชำระทำโทษอีกไม่ได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๔
|
|
|
มาตรา๓๘คำตัดสินประหารชีวิตรศาลใด ๆ ต้องให้ศาลอุทธรณ์ตัดสินยืนด้วย จึงเปนที่สุด
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๕
|
|
|
มาตรา๓๙คำตัดสินโทษประหารชีวิตร ริบ แลจำคุกจนตาย ต้องทูลเกล้าฯ ถวายพร้อมกับฎีกา
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๖
|
|
|
มาตรา๔๐กำหนดให้ใช้
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๖
|
๓๔๕
|
|
ประกาศให้ใช้พระราชกำหนดตั้งศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญาต่อไป ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๖
|
๓๔๖
|
|
ประกาศเปลี่ยนกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญา ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๗
|
๓๔๗
|
|
ประกาศว่าด้วยนัดพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๕๘
|
๓๔๘
|
|
ประกาศขยายความแห่ง “พระราชบัญญัติอากรการพนัน ร.ศ. ๑๑๑” ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๖๓
|
๓๔๙
|
|
กฎข้อบังคับเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๖๔
|
๓๕๐
|
|
ประกาศเพิ่มอำนาจกรรมการตัดสินความนา ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๖๖
|
๓๕๑
|
|
ประกาศตั้งกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าที่ค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญาเพิ่มขึ้น ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๖๗
|
๓๕๒
|
|
แจ้งความเปิดศาลกรรมการตรวจตัดสินที่นาในจังหวัดหมู่คลองบริษัท ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๖๙
|
๓๕๓
|
|
ประกาศเปลี่ยนตำแหน่งเสนาบดีสภา ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๐๙
|
๓๕๔
|
|
ประกาศตั้งตำแหน่งผู้แทนเสนาบดีกระทรวงวัง ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๗๐
|
๓๕๕
|
|
ประกาศเปลี่ยนกรรมการศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความมีโทษหลวงชั้นเก่า ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๗๒
|
๓๕๖
|
|
พระราชบัญญัติตั้งข้าหลวงพิเศษสำหรับจัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมหัวเมืองทั้งปวง ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๗๓
|
๓๕๗
|
|
ประกาศตั้งข้าหลวงพิเศษประจำการ ๓ นายเปนผู้จัดการแก้ไขธรรมเนียมศาลยุติธรรมหัวเมืองทั้งปวง ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๗๘
|
๒๕๘
|
|
ประกาศขยายอำนาจกรรมการพิเศษชำระความวิวาทเรื่องที่นา ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๗๙
|
๓๕๙
|
|
ประกาศยกเลิกตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมุรธาธร ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๑
|
๓๖๐
|
|
ประกาศในการสถาปนาพระเกียรติยศ ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๒
|
๓๖๑
|
|
ประกาศแก้ไขบางมาตราในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรกรีบรมราชวงษ์ ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๔
|
๓๖๒
|
|
ประกาศยกกรมสุรัสวดีขึ้นกระทรวงกระลาโหม ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๕
|
๓๖๓
|
|
ประกาศให้ใช้พระราชกำหนดตั้งศาลรับสั่งพิเศษสำหรับสะสางคดีความมีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ศาลพระราชอาญาต่อไปเปนครั้งที่ ๒ ร.ศ. ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๖
|
๓๖๔
|
|
พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง ร.ศ. ๑๑๕
|
|
|
|
|
|
|
พระราชดำริห์
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๗
|
หมวดที่ ๑ ว่าด้วยนามที่ใช้ ผู้รักษาพระราชบัญญัติ และอธิบายคำ
|
|
|
มาตรา๑นามพระราชบัญญัติ
|
|
น่า
|
|
๑๙๘๙
|
|
|
มาตรา๒ใช้พระราชบัญญัติ
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๓น่าที่ผู้รักษาพระราชบัญญัติ
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๔อย่างไรจึงเรียกว่าความแพ่ง
|
|
|
|
”
|
หมวดที่ ๒ ว่าด้วยอำนาจศาล
|
|
|
มาตรา๕ศาลรับคะดีพิจารณาได้ตามพระธรรมนูญ
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๐
|
|
|
มาตรา๖คะดีที่ตัดสินฤๅที่ยินยอมแล้ว ห้ามไม่ให้รับไว้พิจารณาอีก
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๗ลำดับอำนาจศาล
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๑
|
|
|
มาตรา๘ข้อห้ามผู้พิพากษาในคะดีที่ไม่ควรพิจารณา
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๙น่าที่ผู้พิพากษาต้องเปนผู้พยานเปรียบเทียบคะดี
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๒
|
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยพิจารณาคะดีอันคู่ความ ทำสัญญากันกะข้อประเด็นลงให้ตัดสิน
|
|
|
มาตรา๑๐คะดีที่สัญญากันให้ตัดสิน
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๒
|
|
|
มาตรา๑๑ให้กำหนดราคาลงในคะดีด้วย
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๔
|
|
|
มาตรา๑๒สัญญาต้องลงสารบบเหมือนฟ้องในคะดีอื่น
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๑๓คู่ความอยู่ในอำนาจศาล
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๕
|
|
|
มาตรา๑๔การพิจารณาและตัดสิน
|
|
|
|
”
|
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยลักษณฟ้องความ
|
|
|
มาตรา๑๕ฟ้องคะดีตามชั้นศาลที่ควรแก่รูปความ
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๖
|
|
|
มาตรา๑๖จะฟ้องคะดีต้องฟ้องในท้องแขวง เว้นแต่ศาลจะบังคับจำเลยทำได้ในที่อื่น จะฟ้องต่อศาลที่จำเลยอยู่ในแขวงนั้นก็ได้
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๑๗พัสดุที่เหลื่อมล้ำแขวงกัน ให้ศาลจดบันทึกไว้ และพิจารณาต่อไป
ไม่เปนเหตุอุทธรณ์
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๘
|
|
|
มาตรา๑๘คะดีนอกจากกำหนดในมาตราข้างบนนี้ จะฟ้องตามท้องที่ฤๅศาลอื่นก็ได้
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๑๙จำเลยอยู่เขตรศาลหนึ่ง คะดีเกิดขึ้นในศาลหนึ่ง โจทย์จะฟ้องศาลใดก็ได้
|
|
น่า
|
|
๑๙๙๙
|
|
|
มาตรา๒๐ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้เกี่ยวอยู่ในเขตรของศาลใด ให้ฟ้องศาลนั้รน
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๒๑จำเลยไม่ได้อยู่ในแขวงของศาล จะขอให้ยกคะดีเสียก็ได้
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๒๒ถ้าศาลหยุดพิจารณาไว้ โจทย์จะฟ้องศาลใหม่ ถ้าเสียค่าธรรมเนียมแล้ว ไม่ต้องเสียซ้ำอีก
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๐
|
หมวดที่ ๕ ว่าด้วยลักษณพิจารณาความมะโนสาเร่ห์
|
|
|
มาตรา๒๓ทุนทรัพย์ต่ำกว่าสองร้อยบาท เรียกว่าความมะโนสาเร่ห์
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๑
|
|
|
มาตรา๒๔ความมะโนสาเร่ห์ โจทย์จะยื่นเรื่องราวฤๅข้อด้วยปากให้เรียกจำเลยมาก็ได้
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๒๕วิธีออกหมายเรียกจำเลย
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๒
|
|
|
มาตรา๒๖จำเลยจะมาเองฤๅแต่งทนายมาแทนก็ได้
|
|
|
|
”
|
|
|
มาตรา๒๗ความมะโนสาเร่ห์ นอกจากกำหนดไว้ในหมวดนี้ ให้ใช้ตามวิธีความแพ่งสามัญ
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๓
|
หมวดที่ ๖ วิธีฟ้องคะดีเกี่ยวด้วยตั๋วผัดใช้เงินและตั๋วผัดส่งเงิน
|
|
|
มาตรา๒๘อธิบายคำที่ว่าตั๋วผัด
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๓
|
|
|
มาตรา๒๙จำเลยจะต่อสู้ ต้องวางเงินไว้เปนกลางฤๅมีพยาน
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๔
|
|
|
มาตรา๓๐ถ้าจำเลยไม่มาขออนุญาตต่อสู้ ให้ตัดสินเปนแพ้และอุทธรณ์ไม่ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๕
|
|
|
มาตรา๓๑ถ้ามีเหตุพิเศษ ศาลจะยกคำตัดสินฤๅงดเร่งตามคำตัดสินและอนุญาตให้จำเลยสู้คะดีต่อไปก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๕
|
|
|
มาตรา๓๒ศาลจะเรียกตั๋วไว้เปนกลางและเรียกประกันโจทย์ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๖
|
|
|
มาตรา๓๓ผู้ถือตั๋วผัดจะฟ้องเอาค่าใช้สอยก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๖
|
|
|
มาตรา๓๔ผู้ถือตั๋วผัดจะฟ้องจำเลยคนเดียวฤๅหลายคนก็ได้ แต่ต้องแยกจำนวนเงินเปนส่วน ๆ
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๖
|
หมวดที่ ๗ ว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่งสามัญ
|
|
|
มาตรา๓๕อย่างไรจึงเรียกว่าความแพ่งสามัญ
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๗
|
|
|
มาตรา๓๖ให้จำเลยทำคำให้การมายื่นตามกำหนด ไม่ให้มีคำตัดฟ้อง
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๗
|
|
|
มาตรา๓๗จำเลยหลายคน ให้หมายเรียงตัว
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๘
|
|
|
มาตรา๓๘จำเลยเปนบริษัท ให้หมายถึงที่ทำการของบริษัท
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๘
|
|
|
มาตรา๓๙จำเลยเข้าหุ้นส่วน แต่ไม่ได้โฆษนาการเปนบริษัท ให้หมายเรียงตัว
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๙
|
|
|
มาตรา๔๐ยื่นฟ้องฤๅคำให้การเพิ่มเติม
|
|
น่า
|
|
๒๐๐๙
|
|
|
มาตรา๔๑ถึงวันนัดชี้สองสฐาน ให้โจทย์จำเลยมายังศาล ไม่ต้องหาพยานมาด้วย
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๐
|
|
|
มาตรา๔๒ฟ้องแย้ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๐
|
|
|
มาตรา๔๓ให้ศาลมีบาญชีฟ้องและบาญชีสำนวนไว้
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๑
|
|
|
มาตรา๔๔ถ้าไม่ตกลงในชั้นชี้สองสฐาน ให้ยกความเรื่องนั้นเข้าในบาญชีพิจารณา
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๑
|
|
|
มาตรา๔๕หมายนัดให้คู่ความทราบก่อนไม่น้อยกว่า ๕ วัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๑
|
|
|
มาตรา๔๖ให้คู่ความนำสิ่งสำคัญมาพร้อมกัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๒
|
|
|
มาตรา๔๗หมายเรียกพยาน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๒
|
|
|
มาตรา๔๘หมายเรียกพยานให้พยานรู้ก่อนวันนัดสองวัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๒
|
|
|
มาตรา๔๙สืบพยานจำเพาะแต่ประเด็นแล้วตัดสิน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๓
|
|
|
มาตรา๕๐ถ้าพยานสำคัญมี ให้พักความเรื่องนั้นไว้
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๓
|
|
|
มาตรา๕๑ตรวจอาการของคู่ความที่ป่วย
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๔
|
|
|
มาตรา๕๒คู่ความท้าให้คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งสาบาลฤๅปัฏิญาณตนเปนการตัดสินแพ้ชะนะกันได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๕
|
|
|
มาตรา๕๓ศาลเปิดว่าความตามกำหนดนัด ต่อมีเหตุจึงเลื่อนเวลาได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๕
|
|
|
มาตรา๕๔ให้ศาลพิจารณาความที่เสร็จสำนวนก่อน
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๕
|
|
|
มาตรา๕๕ถ้าจะเลื่อนเวลาพิจารณา ให้เขียนวันนัดประกาศไว้ที่ศาล
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๕
|
|
|
มาตรา๕๖ลงความเห็นในคำตักสิน ถ้าผู้พิพากษานั่งเปนคะณะ ให้ฟังเอาข้างเห็นมาก
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๖
|
|
|
มาตรา๕๗ห้ามตัดสินไม่ให้เกินฟ้อง
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๖
|
|
|
มาตรา๕๘งดพิจารณาไว้ ด้วยจะมีคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานฝ่ายธุระการ
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๗
|
|
|
มาตรา๕๙งดพิจารณาคะดีไว้ ด้วยมีผู้ทำผิดมีโทษเปนอาญาหลวง
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๗
|
หมวดที่ ๘ ว่าด้วยลักษณพยาน
|
|
|
มาตรา๖๐สืบพยานตามพระราชบัญญัติลักษณพยาน ร,ศ, ๑๑๓
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๗
|
หมวดที่ ๙ ว่าด้วยลักษณขาดนัด และตัดสินคะดีที่คู่ความไม่พร้อมกัน
|
|
|
มาตรา๖๑อย่างไรที่เรียกว่าขาดนัด
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๘
|
|
|
มาตรา๖๒หมายนัด ให้คู่ความทราบล่วงน่าไม่ต่ำกว่า ๕ วัน คู่ความทราบแล้วให้ลงชื่อรับในคู่ฉบับหมายแล้วลงบาญชีไว้
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๘
|
|
|
มาตรา๖๓โจทย์จำเลยไม่มาฤๅไม่แต่งทนายให้มาตามนัด ให้เลิกความเสีย
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๙
|
|
|
มาตรา๖๔โจทย์ไม่มาตามนัด แต่จำเลยมา ถ้าให้การปฏิเสธ ให้ยกฟ้องเสีย ถ้าให้การรับเพียงใด ให้ตัดสินเพียงที่รับนั้น ถ้ากลับกล่าวโทษโจทย์และจะว่ากล่าวต่อไป ให้ฟ้องเปนคะดีหนึ่งต่างหาก
|
|
น่า
|
|
๒๐๑๙
|
|
|
มาตรา๖๕จำเลยไม่มาตามนัด มาแต่โจทย์ ให้พิจารณาไปฝ่ายเดียวและตัดสินตามรูปความ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๑
|
|
|
มาตรา๖๖คู่ความขาดนัด ศาลยกฟ้องแล้ว คู่ความมาพิสูทธ์ใน ๑๕ วัน ศาลเห็นจริงด้วย ให้พิจารณาคนใหม่ แต่ต้องยกไปไว้ท้ายบาญชีตามลำดับ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๐
|
|
|
มาตรา๖๗เลื่อนวันพิจารณาได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๒
|
|
|
มาตรา๖๘คู่ความถูกไล่ออกจากศาล ให้พิจารณาคะดีนั้นต่อไป
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๒
|
หมวดที่ ๑๐ ว่าด้วยบังคับในกระบวนพิจารณา
|
|
|
มาตรา๖๙บัตรหมายทั้งปวงต้องให้พนักงานในศาลถือไป
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๒
|
|
|
มาตรา๗๐พนักงานถือบัตรหมาย ต้องไปแต่กลางวัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๓
|
|
|
มาตรา๗๑ผู้ที่จะรับหมายไม่อยู่ ให้ฝากผู้ที่อยู่แห่งเดียวกันซึ่งมีอายุ ๒๐ ปีขึ้นไปก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๓
|
|
|
มาตรา๗๒ถ้าไม่ได้ตัวคนมาตามหมาย ศาลจะสั่งให้ทำอย่างอื่นก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๔
|
|
|
มาตรา๗๓ห้ามไม่ให้เรียกประกันคู่ความ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๔
|
|
|
มาตรา๗๔ผู้แพ้ต้องเสียค่าธรรมเนียม เว้นแต่โจทย์ชะนะไม่เต็มข้อหา ศาลจะบังคับให้ช่วยกันเสียก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๕
|
หมวดที่ ๑๑ ว่าด้วยวางเงินกลางศาล
|
|
|
มาตรา๗๕จำเลยวางเงินกลางศาลได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๖
|
|
|
มาตรา๗๖บอกโจทย์ให้ทราบว่าวางเงิน
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๖
|
|
|
มาตรา๗๗เมื่อบอกโจทย์แล้ว จำเลยไม่ต้องเสียดอกเบี้ยในเงินที่วาง
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๗
|
|
|
มาตรา๗๘การพิจารณาเมื่อโจทย์รับเงินไปไม่ยอมเสร็จ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๗
|
|
|
มาตรา๗๙โจทย์รับเงินวางศาลเปนเสร็จ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๗
|
หมวดที่ ๑๒ ว่าด้วยถอนฟ้องและยอมความกัน
|
|
|
มาตรา๘๐ศาลยอมให้โจทย์ถอนฟ้องและฟ้องใหม่ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๘
|
|
|
มาตรา๘๑โจทย์ถอนฟ้องเอง ฟ้องใหม่อีกไม่ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๙
|
|
|
มาตรา๘๒ฟ้องใหม่ต้องอยู่ในกำหนดความ
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๙
|
|
|
มาตรา๘๓ยอมความกัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๒๙
|
|
|
มาตรา๘๔การเร่งตามตัดสินไม่เกี่ยวหมวดนี้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๐
|
หมวดที่ ๑๓ ลักษณจดถ้อยคำสำนวน
|
|
|
มาตรา๘๕ให้เขียนถ้อยคำด้วยน้ำหมึก
ไม่ให้ขูดแก้ ถ้ามีบุบฉลาย ให้มีสำคัญไว้ข้างท้าย
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๐
|
|
|
มาตรา๘๖การรักษาสำนวนไม่ต้องตีตรา ถ้าโจทย์จำเลยฤๅพยานสงไสย ก็ให้คัดสำเนาให้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๑
|
หมวดที่ ๑๔ ว่าด้วยหมายบังคับฤๅหมายสั่ง
|
|
|
มาตรา๘๗หมายบังคับฤๅหมายสั่ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๑
|
|
|
มาตรา๘๘หมายบังคับ หมายคำสั่ง ออกเมื่อคู่ความขอ
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๒
|
|
|
มาตรา๘๙กำหนดวันให้ทำตามหมาย
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๒
|
|
|
มาตรา๙๐จดหมายบันทึกในหมายให้ใช้เงิน
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๓
|
|
|
มาตรา๙๑จดหมายบันทึกในหมายที่ให้ทำการอย่างอื่น
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๓
|
|
|
มาตรา๙๒เร่งรัดคนที่มิใช่ตัวความตามหมายคำสั่ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๔
|
หมวดที่ ๑๕ ว่าด้วยหมายเรียกผู้แพ้คะดีมาไต่สวน
|
|
|
มาตรา๙๓ผู้ชะนะความขอให้หมายเรียก
ผู้แพ้มาไต่สวนได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๔
|
|
|
มาตรา๙๔ไต่สวนผู้แพ้คะดี
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๕
|
|
|
มาตรา๙๕ผู้แพ้ไม่มาศาลสืบพยานตามที่เห็นสมควรได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๕
|
หมวดที่ ๑๖ ว่าด้วยการบังคับเร่งให้สำเร็จตามคำพิพากษา
|
|
|
มาตรา๙๖ผู้เสียเงินไม่ยอม ผู้ได้จะขอให้ศาลบังคับเอาทรัพย์สมบัติมาตีใช้ให้ก็ได้ แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๖
|
|
|
มาตรา๙๗ผู้ถูกเร่งร้องขอทุเลา
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๖
|
|
|
มาตรา๙๘ศาลมีอำนาจที่จะยึดทรัพย์ของผู้แพ้ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๗
|
|
|
มาตรา๙๙ทรัพย์สมบัติที่ยึดไว้นั้นต้องรักษาไว้ ๕ วันก่อน จึงขายทอดตลาดได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๗
|
|
|
มาตรา๑๐๐ยึดหนังสือหลักทรัพย์ไว้เปนประกันเงินที่ค้างผู้ถูกเร่ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๘
|
|
|
มาตรา๑๐๑ในระหว่างที่ยึดทรัพย์สมบัติไว้ ถ้าผู้ต้องเสียนำเงินมาไถ่ก็ให้คืนให้
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๘
|
|
|
มาตรา๑๐๒ให้ยึดทรัพย์สมบัติแต่พอกับราคาเงินในคำตัดสิน
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๙
|
|
|
มาตรา๑๐๓การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดไว้ ต้องให้ผู้ขอให้เร่งมาร้องขอยืนให้ขาย
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๙
|
|
|
มาตรา๑๐๔การขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดไว้ ต้องมีหลักถานว่าเปนของผู้ถูกเร่ง ถ้าผู้อื่นมาร้องว่าเปนของตน ให้ศาลไต่สวนในระหว่างผู้ร้องกับผู้ขอให้ออกหมาย
|
|
น่า
|
|
๒๐๓๙
|
|
|
มาตรา๑๐๕ถ้าขายทอดตลาดทรัพย์สมบัติได้เงินเกินกว่าที่ตัดสินไว้ ให้คืนแก่เจ้าของทรัพย์
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๐
|
|
|
มาตรา๑๐๖เจ้าพนักงานไม่ยึดทรัพย์ในเวลาที่ควร ต้องใช้เงินที่ขาดไป
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๐
|
|
|
มาตรา๑๐๗ออกหมายข้ามแขวง
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๑
|
หมวดที่ ๑๗ ว่าด้วยลงโทษผู้ที่ไม่ทำตามคำบังคับ
|
|
|
มาตรา๑๐๘ผู้ไม่ทำตามหมายบังคับฤๅหมายคำสั่ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๑
|
|
|
มาตรา๑๐๙ไม่มาชี้แจงเหตุฤๅไม่มีเหตุแก้ตัว
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๒
|
|
|
มาตรา๑๑๐ลงโทษผู้ไม่ทำตามหมาย
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๓
|
หมวดที่ ๑๘ ว่าด้วยลักษณอุทธรณ์
|
|
|
มาตรา๑๑๑กระบวนอุทธรณ์
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๔
|
|
|
มาตรา๑๑๒จำเลยได้ยื่นคำแก้อุทธรณ์แล้ว ให้ศาลส่งสำนวนทั้งหมดในกำหนด ๗ วัน และคู่ความไม่ต้องไปยังศาลก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๕
|
|
|
มาตรา๑๑๓ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาความเปนลำดับ และให้ปิดประกาศวันนัดไว้ยังศาล
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๖
|
|
|
มาตรา๑๑๔ศาลอุทธรณ์พิพากษาได้ต่างกัน ๕ สฐาน และให้ชี้แจงไปยังศาลเดิมด้วย
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๗
|
|
|
มาตรา๑๑๕คู่ความอุทธรณ์ได้เปนลำดับศาลขึ้นไป ถ้าจะถวายฎีกา ให้ถวายในกำหนดเดือนหนึ่ง
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๗
|
หมวดที่ ๑๙ อนุญาโตตุลาการ
|
|
|
มาตรา๑๑๖คู่ความจะขอผู้ใดให้เปนอนุญาโตตุลาการตัดสินก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๘
|
|
|
มาตรา๑๑๗ศาลจะมีหมายเชิญผู้ที่คู่ความขอให้เปนอนุญาโตตุลาการไม่ได้ ฤๅผู้นั้นไม่รับ จะขอผู้อื่นต่อไปก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๘
|
|
|
มาตรา๑๑๘ถ้าอนุญาโตตุลาการทราบความเห็นแตกต่างกัน ให้เลือกอนุญาโตตุลาการคนหนึ่งเปนประธาน
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๙
|
|
|
มาตรา๑๑๙อนุญาโตตุลาการจะตรวจถ้อยคำสำนวนฤๅจะเรียกพยานมาด้วย ให้ศาลเปนธุระ
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๙
|
|
|
มาตรา๑๒๐ศาลตัดสินตามความเห็นของอนุญาโตตุลาการ และค่าฤชาธรรมเนียม และค่าป่วยการ
|
|
น่า
|
|
๒๐๔๙
|
|
|
มาตรา๑๒๑ศาลตัดสินแล้ว คู่ความจะอุทธรณ์ไม่ได้ เว้นแต่คำตัดสินไม่ถูกกับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๐
|
หมวดที่ ๒๐ ว่าด้วยคนอนาถา
|
|
|
มาตรา๑๒๒คนอนาถาฟ้องความได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๐
|
|
|
มาตรา๑๒๓จำเลยยากจน ศาลยอมให้ว่าความอย่างคนอนาถาได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๑
|
|
|
มาตรา๑๒๔ผู้ใดจะว่าความอย่างคนอนาถา ต้องสาบาลก่อน
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๑
|
|
|
มาตรา๑๒๕ไม่ให้เรียกค่าธรรมเนียม
จากคู่ความอนาถา
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๑
|
|
|
มาตรา๑๒๖คู่ความเปนคนอนาถา ภายหลังมีทรัพย์สมบัติ ฤๅตัดสินให้ฝ่ายหนึ่งใช้แทน ศาลเรียกค่าธรรมเนียมได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๒
|
|
|
มาตรา๑๒๗คู่ความละเมิดศาลฤๅประวิงความ ศาลจะถอนอนุญาตเสีก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๒
|
|
|
มาตรา๑๒๘โจทย์แกล้งกล่าวหาโดยความเท็จ ต้องขังไม่เกิน ๖ เดือน
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๒
|
|
|
มาตรา๑๒๙ปรับโทษทนสาบาล
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๓
|
หมวดที่ ๒๑ ว่าต่างแก้ต่าง
|
|
|
มาตรา๑๓๐คู่ความจะแต่งทนายได้ แต่ถ้าศาลจะให้ตัวมาเองก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๒
|
|
|
มาตรา๑๓๑คู่ความหลายคนจะแต่งทนายรวมกันฤๅแยกกันก็ได้ แต่ทนายคนเดียวจะว่าความทั้งสองฝ่ายไม่ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๔
|
|
|
มาตรา๑๓๒หนังสือไว้ความจะทำที่ศาลใดฤๅทำต่อเจ้าพนักงานก็ได้ แต่อย่าให้เปนที่สงไสย
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๔
|
|
|
มาตรา๑๓๓ถ้าตัวความเปนเด็กฤๅสติฟั่นเฟือน ให้ศาลตั้งผู้รับไว้ความ
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๔
|
หมวดที่ ๒๒ ว่าด้วยตัวความตายในระหว่างพิจารณา
|
|
|
มาตรา๑๓๔ตัวความตายฝ่ายหนึ่ง ขอให้เรียกผู้รับมรฎกมาว่าต่อไปก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๕
|
|
|
มาตรา๑๓๕คำร้องขอให้เรียกผู้รับมรฎกของตัวความที่ตายมาว่าคะดี ถ้าศาลเห็นควร ก็ให้ออกหมาย
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๕
|
|
|
มาตรา๑๓๖ผู้รับมรฎกจะมีคำตัดได้ใน ๘ วัน
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๖
|
|
|
มาตรา๑๓๗ถ้าศาลเห็นชอบด้วยคำตัดแล้ว ให้ยกคำร้องเสีย
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๖
|
|
|
มาตรา๑๓๘ผู้ที่ต้องว่าที่ตัวความตายนั้นจะว่าเองฤๅแต่งทนายว่าก็ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๗
|
หมวดที่ ๒๓ ว่าด้วยละเมิดอำนาจศาล
|
|
|
มาตรา๑๓๙โทษผู้ปลอมเข้ามาว่าความ
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๗
|
|
|
มาตรา๑๔๐โทษผู้หมิ่นประมาทผู้พิพากษาและศาล
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๗
|
|
|
มาตรา๑๔๑ผู้พิพากษาจะสั่งให้จับผู้หมิ่นประมาทคุมขังไว้ได้
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๘
|
หมวดที่ ๒๔ ว่าด้วยพระราชกำหนดกฎหมายเดิม
|
|
|
มาตรา๑๔๒ยกเลิกกฎหมายเดิม
|
|
น่า
|
|
๒๐๕๘
|
๓๖๕
|
|
ประกาศสำหรับข้าหลวงพิเศษจัดตั้งศาลหัวเมืองจะกำหนดโทษผู้แพ้คดีมีโทษหลวง ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๐๗๔
|
๓๖๖
|
|
ประกาศตั้งกรรมการพิเศษ ๒ นายให้สระสางล้างความเก่าในหัวเมือง
|
|
น่า
|
|
๒๐๗๕
|
๓๖๗
|
|
พระราชบัญญัติว่าด้วยไม้ซุงและไม้ท่อนที่ดวงตราลบเลือน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๑๑ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๐๗๘
|
๓๖๘
|
|
ประกาศพระราชบัญญัติสัตว์พาหะนะ แก้ไขใหม่ ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๐๘๕
|
๓๖๙
|
|
พระราชบัญญัติชั่วสมัยสำหรับป้องกันโรคสัตว์พาหะนะ ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๑๓ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๐๘๖
|
๓๗๐
|
|
พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๐๘๙
|
๓๗๑
|
|
ประกาศเปลี่ยนตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๐๙๒
|
๓๗๒
|
|
ประกาศสำหรับสนามสถิตย์ยุติธรรมจะกำหนดโทษผู้แพ้คะดีมีโทษหลวง ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๐๙๓
|
๓๗๓
|
|
พระราชกำหนดผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓๐ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๐๙๔
|
๓๗๔
|
|
ประกาศในการเสด็จพระราชดำเนินประพาศณะประเทศยุโรป ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๑๐๗
|
๓๗๕
|
|
ประกาศเปลี่ยนผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๑๑๐
|
๓๗๖
|
|
ประกาศเจ้าพระยาสุริศักดิ์มนตรีกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๑๑๒
|
๓๗๗
|
|
ประกาศเงินค่าราชการขุนหมื่นและไพร่หลวง ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๑๑๓
|
๓๗๘
|
|
ประกาศเลิกกรรมการพิเศษชำระความนา ร,ศ, ๑๑๕
|
|
น่า
|
|
๒๑๑๔
|
๓๗๙
|
|
พระราชบัญญัติการขายฝากและการจำนำที่ดิน ร,ศ, ๑๑๕ รวม ๓ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๑๑๖
|
๓๘๐
|
|
ประกาศตั้งผู้แทนเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร,ศ, ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๒๐
|
๓๘๑
|
|
พระราชบัญญัติว่าด้วยน่าที่ราชการซึ่งเกี่ยวข้องกันอยู่ในระหว่างกระทรวงนครบาลและกระทรวงยุติธรรม ร,ศ, ๑๑๖ รวม ๕ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๑๒๑
|
๓๘๒
|
|
ประกาศในการที่จะออกพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนราถ ร,ศ, ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๒๕
|
๓๘๓
|
|
ประกาศตราตำแหน่งราชเลขานุการแห่งสมเด็จพระบรมราชินีนารถซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์ ร,ศ, ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๒๗
|
๓๘๔
|
|
พระราชบัญญัติธง ร,ศ, ๑๑๖ รวม ๕ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๑๒๗
|
๓๘๕
|
|
ประกาศแก้ไขเพิ่มเติมเรื่องห้ามเรื่องมาจากซัวเถา ร,ศ, ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๓๗
|
๓๘๖
|
|
พระราชบัญญัติลักษณปกครองท้องที่ ร,ศ, ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๓๙
|
หมวดที่ ๑ ว่าด้วยนามและการที่ใช้และรักษาพระราชบัญญัติ
|
|
|
มาตรา๑นามพระราชบัญญัติ
|
|
น่า
|
|
๒๑๓๙
|
|
|
มาตรา๒ใช้พระราชบัญญัติ
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๐
|
|
|
มาตรา๓เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเปนผู้รักษาพระราชบัญญัติ
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๐
|
|
|
มาตรา๔เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
และข้าหลวงเทศาภิบาลมีอำนาจที่จะตั้งกฎสำหรับพนักงาน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๐
|
|
|
มาตรา๕กำหนดเขตร์ที่
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๐
|
|
|
มาตรา๖ยกเลิกกฎหมายเก่า
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๑
|
หมวดที่ ๒ ว่าด้วยอธิบายศัพท์ที่ใช้ในพระราชบัญญัติ
|
|
|
มาตรา๗อธิบายศัพท์
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๑
|
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยลักษณปกครองหมู่บ้าน
|
|
|
มาตรา๘กำหนดหมู่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๒
|
|
|
มาตรา๙เลือกผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๒
|
|
|
มาตรา๑๐วุฒิผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๓
|
|
|
มาตรา๑๑ตั้งผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๔
|
|
|
มาตรา๑๒น่าที่ผู้ใหญ่บ้านรักษาความเรียบร้อย
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๔
|
|
|
มาตรา๑๓โทษลูกบ้านไม่ช่วยจับโจรและดับไฟ
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๖
|
|
|
มาตรา๑๔โทษลูกบ้านละเมิดผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๗
|
|
|
มาตรา๑๕โทษผู้ใหญ่บ้านละเมิดน่าที่
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๗
|
|
|
มาตรา๑๖เหตุที่ผู้ใหญ่บ้านต้องออก
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๗
|
|
|
มาตรา๑๗เหตุต้องตั้งผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๘
|
|
|
มาตรา๑๘กำนันมอบทะเบียนแลเปลี่ยนหมายตั้งสำหรับผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๔๙
|
|
|
มาตรา๑๙ผู้ใหญ่บ้านทำการแทนกัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๐
|
|
|
มาตรา๒๐ผู้ใหญ่บ้านต้องถือน้ำ
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๐
|
|
|
มาตรา๒๑ยกราชการอย่างอื่นพระราชทานให้ผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๐
|
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยลักษณปกครองตำบล
|
|
|
มาตรา๒๒กำหนดตำบล
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๑
|
|
|
มาตรา๒๓ผู้ใหญ่บ้านเลือกกำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๑
|
|
|
มาตรา๒๔การปกครองตำบลที่อยู่ในน่าที่กำนันกับผู้ใหญ่บ้าน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๑
|
|
|
มาตรา๒๕เหตุซึ่งกำนันควรเรียกผู้ใหญ่บ้านประชุมกัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๒
|
|
|
มาตรา๒๖น่าที่กำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๖
|
|
|
มาตรา๒๗อำนาจกำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๕๙
|
|
|
มาตรา๒๘โทษกำนันละเมิดน่าที่
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๑
|
|
|
มาตรา๒๙เหตุที่ต้องเปลี่ยนกำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๑
|
|
|
มาตรา๓๐ตั้งกำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๒
|
|
|
มาตรา๓๑ผู้ใหญ่บ้านทำการแทนกำนัน
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๓
|
|
|
มาตรา๓๒สารวัตตำบล
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๓
|
หมวดที่ ๕ ว่าด้วยลักษณปกครองอำเภอและเมืองขึ้น
|
|
|
มาตรา๓๓กำนันอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๔
|
|
|
มาตรา๓๔ตำแหน่งกรมการอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๔
|
|
|
มาตรา๓๕วิธีเลือกนายอำเภอและวุฒินายอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๔
|
|
|
มาตรา๓๖วิธีเลือกปลัดและสมุห์บาญชีอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๕
|
|
|
มาตรา๓๗ข้าหลวงเทศาภิบาลและสมุห์บาญชีอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๖
|
|
|
มาตรา๓๘ตราตำแหน่งนายอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๖
|
|
|
มาตรา๓๙ข้าหลวงเทศาภิบาลมีอำนาจเปลี่ยนกรมการอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๖
|
|
|
มาตรา๔๐น่าที่กรมการอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๗
|
|
|
มาตรา๔๑น่าที่รักษาความเรียบร้อยในท้องที่
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๗
|
|
|
มาตรา๔๒น่าที่จัดการปกครอง
|
|
น่า
|
|
๒๑๖๘
|
|
|
มาตรา๔๓น่าที่ตรวจท้องที่
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๐
|
|
|
มาตรา๔๔น่าที่สืบจับโจรผู้ร้าย
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๑
|
|
|
มาตรา๔๕น่าที่คุมขังนักโทษ
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๒
|
|
|
มาตรา๔๖น่าที่เรียกตัวคนส่ง
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๓
|
|
|
มาตรา๔๗น่าที่รับอายัติทำชัณสูตรแลตราสิน
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๔
|
|
|
มาตรา๔๘น่าที่ทำบริคณห์สัญญาและหนังสือสำคัญ
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๖
|
|
|
มาตรา๔๙น่าที่ทำทะเบียน
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๘
|
|
|
มาตรา๕๐น่าที่รักษาผลประโยชน์
|
|
น่า
|
|
๒๑๗๙
|
|
|
มาตรา๕๑น่าที่ประกาศข้อราชการ
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๐
|
|
|
มาตรา๕๒น่าที่เพิ่มเติม
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๐
|
|
|
มาตรา๕๓น่าที่ช่วยการอำเภออื่น
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๑
|
|
|
มาตรา๕๔น่าที่ทำรายงาน
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๒
|
|
|
มาตรา๕๕อำนาจกรมการอำเภอ
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๒
|
|
|
มาตรา๕๖กรมการอำเภอต้องกระทำสัตย์ เมื่อแรกรับตำแหน่งต้องถือน้ำ และจัดการ
ที่กำนันผู้ใหญ่บ้านถือน้ำ
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๕
|
๓๘๗
|
|
ประกาศขอบใจข้าราชการ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๕
|
๓๘๘
|
|
ประกาศว่าด้วยเรียกค่าธรรมเนียมฎีกา ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๗
|
๓๘๙
|
|
ประกาศลักษณปกครองท้องที่สำหรับมณฑลกรุงเทพฯ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๘
|
๓๙๙
|
|
ประกาศตั้งศาลมณฑลกรุงเก่า ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๘๙
|
๔๐๐
|
|
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพิกัดภาษีภายใน ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๙๑
|
๔๐๑
|
|
ประกาศแก้พระธรรมนูญศาลหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๙๒
|
๔๐๒
|
|
ประกาศตั้งข้าหลวงพิเศษจัดการศาลยุติธรรมมณฑลปาจิณบูรี ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๙๔
|
๔๐๓
|
|
ประกาศจัดการป้องกันกาฬโรคเพิ่มเติม ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๑๙๕
|
๔๐๔
|
|
ประกาศตั้งศาลเมืองเมืองสระบุรี ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๐
|
๔๐๖
|
|
พระราชกำหนดแก้ความในพระราชบัญญัติกรมกระสาปน์สิทธิการ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๐
|
๔๐๗
|
|
ประกาศกระทรวงนครบาล เรื่อง กำหนดผูกปี้จน จำนวนปีรัตนโกสินทรศก ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๑
|
๔๐๘
|
|
พระราชกำหนดไปรสนีย์ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๖
|
|
|
พระราชดำริห์
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๗
|
ภาคที่ ๑ ว่าด้วยข้อบังคับทั่วไปในกรมไปรสนีย์
|
|
|
หมวดที่๑ว่าด้วยนามและกำหนดใช้
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๘
|
|
|
หมวดที่๒ว่าด้วยรัฐบาลสยามมีอำนาจฝ่ายเดียวในการถือสรรพหนังสือฝากส่งไปในที่ต่าง ๆ
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๘
|
|
|
หมวดที่๓บังคับนายเรือและเจ้าของเรือ
|
|
น่า
|
|
๒๒๐๒
|
|
|
หมวดที่๔ว่าด้วยความรับประกัน
|
|
น่า
|
|
๒๒๑๓
|
|
|
หมวดที่๕ว่าด้วยอำนาจพิเศษในประโยชน์ของกรมไปรสนีย์
|
|
น่า
|
|
๒๒๑๖
|
ภาคที่ ๒ ว่าด้วยโทษานุโทษ
|
|
|
หมวดที่๖สำหรับมหาชน
|
|
น่า
|
|
๒๒๑๙
|
|
|
หมวดที่๗สำหรับนายเรือกำปั่น
|
|
น่า
|
|
๒๒๒๑
|
|
|
หมวดที่๘สำหรับเจ้าพนักงาน
|
|
น่า
|
|
๒๒๒๒
|
|
|
หมวดที่๙ว่าด้วยแสตมป์ไปรสนีย์ปลอม
|
|
น่า
|
|
๒๒๒๔
|
ภาคที่ ๓ ว่าด้วยข้อบังคับพิเศษ
|
|
|
หมวดที่๑๐ว่าด้วยการทำโทษและฟ้องร้อง
|
|
น่า
|
|
๒๒๒๕
|
๔๐๙
|
|
ประกาศอัตราค่าธรรมเนียม ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๒๖
|
๔๑๐
|
|
พระราชกำหนดว่าด้วยภาษีน้ำตาล ร.ศ. ๑๑๖ แก้ความในพระราชบัญญัติพิกัดภาษีภายใน ร.ศ. ๑๑๑
|
|
น่า
|
|
๒๒๓๐
|
๔๑๑
|
|
ประกาศว่าด้วยผู้ซึ่งจะทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๓๑
|
๔๑๒
|
|
ประกาศแก้ไขข้อบังคับสำหรับการป้องกันผู้ร้ายลักช้าง ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๓๒
|
๔๑๓
|
|
ประกาศการรักษาป่าไม้ ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๖ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๒๓๓
|
๔๑๔
|
|
พระราชบัญญัติว่าด้วยอั้งยี่ ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๑๘ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๒๓๖
|
๔๑๕
|
|
ประกาศเรื่องจัดศาลยุติธรรมในมณฑลปาจิณบุรี ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๔๔
|
๔๑๖
|
|
ประกาศเรื่องจัดศาลยุติธรรมในมณฑลนครศรีธรรมราช ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๔๕
|
๔๑๗
|
|
ข้อบังคับของทางรถไฟสยาม ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๓๒ ข้อ
|
|
น่า
|
|
๒๒๔๗
|
๔๑๘
|
|
ประกาศตั้งเจ้าพนักงานผู้จดทะเบียนอั้งยี่ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๖๒
|
๔๑๙
|
|
พระราชกำหนดศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๒๓ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๒๖๒
|
|
|
หมวดที่๑ว่าด้วยตั้งเจ้าพนักงานแพทย์สำหรับตรวจโรคกับช่างใหญ่
|
|
น่า
|
|
๒๒๖๕
|
|
|
หมวดที่๒ว่าด้วยการศุขาภิบาลที่กำหนดให้จัดให้ดีขึ้น
|
|
น่า
|
|
๒๒๖๙
|
|
|
หมวดที่๓ว่าด้วยกฎข้อบังคับที่จะขยายจังหวัดการศุขาภิบาลให้กว้างขวางต่อไป
|
|
น่า
|
|
๒๒๗๗
|
|
|
หมวดที่๔ว่าด้วยข้อความเบ็ดเตล็ด
|
|
น่า
|
|
๒๒๗๙
|
๔๒๐
|
|
ประกาศตั้งเจ้าพนักงานกรมศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๘๐
|
๔๒๑
|
|
พระราชบัญญัติรักษาต้นไม้สัก ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๘๐
|
๔๒๒
|
|
ประกาศเลิกพระราชบัญญัติจัดการป้องกันกาฬโรค ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๘๒
|
๔๒๓
|
|
พระราชบัญญัติสำหรับแต่งงานคนต่างประเทศในกรุงสยาม ร.ศ. ๑๑๖ รวม ๔ มาตรา
|
|
น่า
|
|
๒๒๘๓
|
๔๒๔
|
|
ประกาศกระทรวงนครบาล เตือนให้จีนที่ยังไม่ได้ผูกปี้เร่งมาผูกปี้ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๘๖
|
๔๒๕
|
|
พระราชกำหนดเครื่องแต่งตัวทหารราบ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๙๘
|
๔๒๖
|
|
ประกาศตั้งผู้บัญชาการกรมศุขาภิบาล ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๙๔
|
๔๒๗
|
|
ประกาศห้ามมิให้คู่ความเก็บเอาคะดีที่ศาลโบริสภาตัดสินแล้วมาฟ้องต่อศาลแพ่ง ศาลอาญา ก่อนได้รับอนุญาตของศาลสูงนั้น ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๙๖
|
๔๒๘
|
|
พระราชหัดถเลขาเรียกปล่อยและงดโทษนักโทษ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๒๙๘
|
๔๒๙
|
|
ประกาศตั้งศาลยุติธรรมในมณฑลพิศณุโลกย์ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๓๐๐
|
๔๓๐
|
|
ประกาศขับไล่ ร.ศ. ๑๑๖
|
|
น่า
|
|
๒๓๐๑
|