ผู้สร้างสรรค์:พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
←รายชื่อ: พ | พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ (พ.ศ. 2310–2367) |
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงเทพมหานคร (ตามประเพณีเรียก พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา) เสวยราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 2352 จนถึงสวรรคต นับเป็นรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี |
งาน
แก้ไข- บทลครนอก พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2 รวม 6 เรื่อง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ (2465) (ต้นฉบับ)
- "บทเห่", ใน ประชุมกาพย์เห่เรือ (2460) (ต้นฉบับ)
- "บทเห่", ใน ประชุมกาพย์เห่เรือ (2464) (ต้นฉบับ)
- "เห่เรือ", ใน กาพย์ห่อโคลงเห่เรือ (2451)
- สถานีย่อย:กฎหมายไทย/รัชกาลที่ 2
งานที่เกี่ยวข้อง
แก้ไข- จดหมายเหตุ เรื่อง รับพระยาเศวตกุญชรช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 2 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2355, โดย ราชบัณฑิตยสภา (2470) (ต้นฉบับ)
- "ทำนายพระสุบินนิมิตรพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย", ใน จดหมายเหตุพระสุบินนิมิตร (2464)
- "เทศนาพระราชประวัติรัชกาลที่ 2", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์, ใน พระราชพงษาวดาร เล่ม 3 (2444) (ต้นฉบับ)
- พงศาวดาร เรื่อง ไทยรบพะม่า ครั้งกรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2475) (ต้นฉบับ)
- พงษาวดาร เรื่อง เรารบพม่าครั้งกรุงธนฯ แลกรุงเทพฯ, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2463) (ต้นฉบับ)
- พระราชพงษาดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 2, โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ (2459) (ต้นฉบับ)
- "หมายรับสั่งรัชกาลที่ 2 เรื่อง พระราชทานเพลิงศพ", ใน ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ 17 (2468) (ต้นฉบับ)
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก