ผู้สร้างสรรค์:หลวงอนุสรณ์สิทธิกรรม (บัว ณ นคร)

อนุสรณ์สิทธิกรรม (บัว ณ นคร), หลวง
(พ.ศ. ?–?)
หลวงอนุสรณ์สิทธิกรรม บ้างเขียน "หลวงอนุสรสิทธิกรรม" ชื่อจริงว่า "บัว ณ นคร" ไม่ทราบปีที่เกิด ปีเสียชีวิต และประวัติมากนัก ทราบแต่ว่า เป็นข้าราชการในเมืองนครศรีธรรมราช ใน พ.ศ. 2440 ได้รับมอบหมายให้ไปจัดตั้งที่ว่าการอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช[1] และได้เป็นนายอำเภอคนแรกของอำเภอดังกล่าว[2] ต่อมาใน พ.ศ. 2460 เป็นนายอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช[3]

อ้างอิง

แก้ไข
  1. ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. (ม.ป.ป.). ร้อยเรื่องเมืองนคร จาก 9 อำเภอเมื่อ ร.ศ. 116 เป็น 21 อำเภอ 2 กิ่งอำเภอ ในวันนี้. สืบค้นจาก http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/bitstream/123456789/350/1/จาก 9 อำเภอเมื่อ ร.ศ.116 เป็น 21 อำเภอ 2 กิ่งอำเภอในวันนี้.pdf
  2. Kai Mayachearw. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมาของนามสกุล มะยะเฉี่ยว, มะยะเฉียว, มะยาเฉียว และ เล่าเฉี่ยน. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/mayachiao/home
  3. วิทยาลัยการอาชีพหัวไทร. (ม.ป.ป.). ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/withyalaykarxachiphhawthir/khxmul-sersthkic-laea-sangkhm
 

งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก