ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล ลงวันที่ 1 มีนาคม ร.ศ. 115"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
{{header
{{คุณภาพเนื้อหา|100%}}
| title = พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล (ร.ศ. ๑๑๕ พ.ศ. ๒๔๓๙)
{{หัวเรื่องกฎหมาย
| portal = กฎหมายตราสามดวง
|ชื่อเรื่อง= พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล
| notes = คัดจาก ''ราชกิจจานุเบกษา'' (ดู [[#บรรณานุกรม|บรรณานุกรม]]) [[#สารบัญ|สารบัญ]]เพิ่มโดยวิกิซอร์ซ
|ชื่อเรื่องย่อย=
|วิกิพีเดียชื่อเรื่อง=
|พระราชนิพนธ์=
|พระนิพนธ์=
|ผู้แต่ง=
|ผู้แต่งไม่ลิงก์= รัฐบาลไทย
|วิกิพีเดียผู้แต่ง=
|ผู้แปล=
|เรื่องก่อนหน้า=
|เรื่องถัดไป=
|ก่อนหน้า=
|ถัดไป=
|หมายเหตุ= {{รุ่น}}
}}
==สารบัญ==
<br><br>
: [[#พระราชบัญญัติ|พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล]]
: [[#ปร|คำปรารภ]]
: {{ก|ม1|๑|ยกเลิกกฎหมายอื่น}}
: {{ก|ม1|๒|ห้ามพิจารณาโดยใช้วิธีทรมาน}}
: {{ก|ม1|๓|ให้พิจารณาโดยอิงพยานหลักฐาน}}
: [[#ปก|วันประกาศ]]
<br>
==พระราชบัญญัติ==
<br><br>
{| style="margin-left: auto; margin-right: auto; border: none; text-align:center;"
|-
| [[File:Old Seal of the Royal Command of Thailand.svg|center|130px|ตราพระบรมราชโองการ]]
|-
|
|-
| {{fs|140%|พระราชบัญญัติ}}
|-
| ยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้าย
|-
| ตามจารีตนครบาล
|-
|}
 
 
 
<div id="ปร"></div>
[[File:Old Seal of the Royal Command of Thailand 001.jpg|center|Seal of the Royal Command of Thailand|150px]]
มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรัสเหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า วิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาลซึ่งมีอยู่ในพระราชกำหนดกฎหมายตั้งมาแต่ปางก่อน คือ ใน[[พระไอยการลักขณโจร|ลักษณโจร]] เปนต้น แม้ผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้ายมีข้อพิรุทธ์ฤๅมีผู้ร้ายให้การทอดซัดหลายปาก ถ้าแลผู้ต้องหาไม่รับ ผู้พิพากษาอาจจะใช้อาญาด้วยเครื่องเฆี่ยนเปนต้นกระทำแก่ผู้ต้องหาแลต้นซัดตามกฎหมายในกระบวนพิจารณากว่าจะได้ความเปนสัจฤๅมิเปนสัจประการใดดังนี้
 
ทรงพระราชดำริห์เห็นว่า การที่ชำระฟอกซักผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้ายด้วยใช้อาญาตามจารีตนครบาลนั้น แม้ในพระราชกำหนดกฎหมายมีข้อความจำกัดไว้เปนหลายประการเพื่อจะให้กระทำแต่เมื่อมีหลักฐานเปนสำคัญแล้วก็ดี ยังเปนเหตุให้เกิดการเสื่อมเสียในกระบวนพิจารณาได้มาก เพราะเหตุที่ผู้พิพากษาอาจจะพลาดพลั้งหลงลงอาญาแก่ผู้ไม่มีผิดให้เกิดบาปกรรมเปนต้น แลที่สุดแม้ถ้อยคำซึ่งผู้ต้องอาญาจะให้การประการใดที่จะฟังเอาเปนหลักฐานถ่องแท้ในทางยุติธรรมก็ฟังไม่ได้ ด้วยถ้อยคำเช่นนั้นอาจจะเปนคำสัจจริงฤๅคำเท็จซึ่งจำต้องกล่าวเพื่อจะให้พ้นทุกขเวทนาก็เปนได้ทั้งสองสถาน
 
ทรงพระราชดำริห์เห็นว่า หลักฐานในทางพิจารณาอรรถคดีโดยยุติธรรมก็ย่อมอาศรัยสักขีพยานเปนใหญ่ยิ่งกว่าสิ่งอื่น แลการพิจารณาความโจรผู้ร้ายแลคดีมีโทษหลวงทั้งปวงทุกวันนี้ ก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขลักษณกระบวนพิจารณาแลลักษณพยานให้ดีขึ้น อาจจะชำระถ้อยความเอาความเท็จจริงได้รวดเร็วสดวกแก่แต่ก่อน ไม่จำเปนจะต้องใช้พิจารณาโดยจารีตนครบาลอันมีทางเสื่อมเสียยุติธรรมดังได้กล่าวมาแล้วนั้นอีกต่อไป
{{c|{{fs|140%|'''พระราชบัญญัติ'''}}}}
 
 
{{c|{{fs|120%|'''ยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล'''}}<ref>ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓/หน้า ๕๗๓/๔ มีนาคม ร.ศ. ๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๓๙, ค.ศ. ๑๘๙๖)</ref>}}
 
 
{{c|_______________}}
 
 
 
 
 
มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรัสเหนือเกล้าฯ ให้ประกาศให้ทราบทั่วกันว่า วิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล ซึ่งมีอยู่ในพระราชกำหนดกฎหมายตั้งมาแต่ปางก่อน คือ ในลักษณโจร เปนต้น แม้ผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้ายมีข้อพิรุทธ์ฤๅมีผู้ร้ายให้การทอดซัดหลายปาก ถ้าแลผู้ต้องหาไม่รับ ผู้พิพากษาอาจจะใช้อาญาด้วยเครื่องเฆี่ยนเปนต้น กระทำแก่ผู้ต้องหาแลต้นซัดตามกฎหมาย ในกระบวนพิจารณา กว่าจะได้ความเปนสัจฤๅมิเปนสัจประการใด ดังนี้
 
ทรงพระราชดำริห์เห็นว่า การที่ชำระฟอกซักผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้ายด้วยใช้อาญาตามจารีตนครบาลนั้น แม้ในพระราชกำหนกกฎหมายมีข้อความจำกัดไว้เปนหลายประการ เพื่อจะให้กระทำแต่เมื่อมีหลักฐานเปนสำคัญแล้วก็ดี ยังเปนเหตุให้เกิดการเสื่อมเสียในกระบวนพิจารณาได้มาก เพราะเหตุที่ผู้พิพากษาอาจจะพลาดพลั้ง หลงลงอาญาแก่ผู้ไม่มีผิดให้เกิดบาปกรรมเปนต้น แลที่สุด แม้ถ้อยคำซึ่งผู้ต้องอาญาจะให้การประการใดที่จะฟังเอาเปนหลักฐานถ่องแท้ในทางยุติธรรมก็ฟังไม่ได้ ด้วยถ้อยคำเช่นนั้นอาจจะเปนคำสัจจริงฤๅคำเท็จซึ่งจำต้องกล่าวเพื่อจะให้พ้นทุกขเวทนา ก็เปนได้ทั้งสองสถาน
 
ทรงพระราชดำริห์เห็นว่า หลักฐานในทางพิจารณาอรรถคดีโดยยุติธรรมก็ย่อมอาศรัยสักขีพยานเปนใหญ่ยิ่งกว่าสิ่งอื่น แลการพิจารณาความโจรผู้ร้ายแลคดีมีโทษหลวงทั้งปวงทุกวันนี้ ก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขลักษณกระบวนพิจารณาแลลักษณพยานให้ดีขึ้น อาจจะชำระถ้อยความเอาความเท็จจริงได้รวดเร็วสะดวกว่าแต่ก่อน ไม่จำเปนจะต้องใช้พิจารณาโดยจารีตนครบาล อันมีทางเสื่อมเสียยุติธรรมดังได้กล่าวมาแล้วนั้นอีกต่อไป
 
เพราะฉนั้น จึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราเปนพระราชบัญญัติสืบไปว่า
 
{{ก|ม|๑|ให้ยกเลิกข้อความในกฎหมายซึ่งมีรายบทไว้ในตรางนี้ คือ}}
 
{| {{ts|mc|bc|ac}}
 
|- {{ts|bb|bt}}
 
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | ลักษณ
{{c|'''มาตรา ๑'''}}
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | บท
 
| colspan=6 {{ts|bl|br}} | ว่าด้วย
ให้ยกเลิกข้อความในกฎหมายซึ่งมีรายบทไว้ในตรางนี้ คือ
 
<center>
{| class="wikitable"
|- bgcolor="#ebf5ff"
!ลักษณ
!บท
!ว่าด้วย
|- bgcolor="#ebf5ff"
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร|โจร]]
| <center>โจร</center>
| width=20% | มาตรา ๒๗
| width=10% {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#27|๒๗]]
|| เฆี่ยนถามโจร
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | เฆี่ยนถามโจร
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๒๘
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#28|๒๘]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| rowspan=6 |
| rowspan=6 |
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
| rowspan=6 |
| rowspan=6 {{ts|br}} |
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๒๙
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#29|๒๙]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#31|๓๑]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๔
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#34|๓๔]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๕
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#35|๓๕]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๖
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#36|๓๖]]
|| ” {{gap|4em}} ”
| {{ts|ac}} | "
| {{ts|ac}} | "
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๔๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักขณโจร#41|๔๑]]
|| จำ ๕ แล ๓ ประการ โจร ณ คุก
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำ ๕ แล ๓ ประการโจร ณ คุก
|-
| <center>colspan=2 {{ts|bl|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ</center>|ตระลาการ]]
| "
|| ” {{gap|2em}} ๘
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#8|๘]]
|| มัดโยงคู่ความไม่ให้สมุด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | มัดโยงคู่ความไม่ให้สมุด
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๑๗
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#17|๑๗]]
|| ตบปากคู่ความ
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | ตบปากคู่ความ
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๒๐
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#20|๒๐]]
|| ทวนคนกลาง
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | ทวนคนกลาง
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๒๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#21|๒๑]]
|| จำคาผู้ลเมิดกลางคัน
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำคาผู้ลเมิดกลางคัน
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#31|๓๑]]
|| จำขื่อคาผู้ขาดผัด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อคาผู้ขาดผัด
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๗
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#37|๓๗]]
|| จำขื่อผู้ไม่ลงเล็บสำนวน
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อผู้ไม่ลงเล็บสำนวน
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๙
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#39|๓๙]]
|| จำขื่อผู้ขัดไม่ไปสืบ
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อผู้ขัดไม่ไปสืบ
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๔๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#41|๔๑]]
|| จำขื่อผู้ขัดหมาย
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อผู้ขัดหมาย
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๔๘
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#48|๔๘]]
|| มัดแช่น้ำตากแดดเร่งสินไหม
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | มัดแช่น้ำตากแดดเร่งสินไหม
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๕๒
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#52|๕๒]]
|| ตบปากผู้อุทธรณ์เกินกำหนด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | ตบปากผู้อุทธรณ์เกินกำหนด
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๕๔
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#54|๕๔]]
|| มัดแช่น้ำตากแดดผู้ไม่ยอมทำผัด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | มัดแช่น้ำตากแดดผู้ไม่ยอมทำผัด
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๖๗
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#67|๖๗]]
|| จำขื่อผู้ขาดนัด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อผู้ฃาดนัด
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๘๙
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#89|๘๙]]
|| จำขื่อแลทวนลูกความไม่ยอมแก้ความ
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อแลทวนลูกความไม่ยอมแก้ความ
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๑๐๙
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณตระลาการ#109|๑๐๙]]
|| สับเสี่ยงผู้ฟ้องให้ส่งลูกสาว
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | สับเสี่ยงผู้ฟ้องให้ส่งลูกสาว
|-
| <center>colspan=2 {{ts|bl|br}} | [[พระไอยการลักษณอุธร|อุทธรณ์</center>]]
| "
|| ” {{gap|2em}} ๑๑
| {{ts|br}} | [[พระไอยการลักษณอุธร#11|๑๑]]
|| สับเสี่ยงผู้ฟ้อง
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | สับเสี่ยงผู้ฟ้อง
|-
| <center>colspan=2 {{ts|bl|br}} | [[กฎ ๓๖ ข้อ</center>]]
|| กฎ {{gap|1em}} ๗
| {{ts|br}} | [[กฎ ๓๖ ข้อ#7|๗]]
|| ตบปากลูกความผู้เถียง
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | ตบปากลูกความผู้เถียง
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>”</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๓๖
| {{ts|br}} | [[กฎ ๓๖ ข้อ#36|๓๖]]
|| จำขื่อผู้ร้ายที่ยังไม่รับ
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำขื่อผู้ร้ายที่ยังไม่รับ
|-
| <center>rowspan=2 {{ts|bl}} | [[พระราชกำหนดเก่า|พระราช </centerbr> กำหนดเก่า]]
|| {{gapts|2embr}} |
| rowspan=2 {{ts}} | "
|| เฆี่ยน ๓ ยก
| rowspan=2 {{ts|br}} | [[พระราชกำหนดเก่า#4|๔]]
| rowspan=2 colspan=6 {{ts|br|ac}} | เฆี่ยน ๓ ยก
|-
| {{ts|br}} | {{b2|2}}
| <center>อุทธรณ์</center>
|| ” {{gap|2em}} ๖
|| จำตัวจำนำไว้ ณ คุก
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br}} | "
| <center>อุทธรณ์</center>
| "
|| ” {{gap|2em}} ๕๒
| {{ts|br}} | [[พระราชกำหนดเก่า#6|๖]]
|| จำตากแดดผู้ขาดผัด
| colspan=6 {{ts|br|ac}} | จำตัวจำนำไว้ ณ คุก
|-
| colspan=2 {{ts|bl|br|bb}} | "
| {{ts|bb|ac}} | "
| {{ts|br|bb|ac}} | [[พระราชกำหนดเก่า#52|๕๒]]
| colspan=6 {{ts|br|bb|ac}} | จำตากแดดผู้ฃาดผัด
|-
|}
</center>
 
 
{{c|'''มาตรา ๒'''}}
 
ห้ามมิให้ข้าราชการผู้หนึ่งผู้ใดลงอาญาด้วยเครื่องเฆี่ยน เครื่องจำ ฤๅเครื่องทรมานอย่างอื่นแก่ร่างกายผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้าย เพื่อจะฟอกซักเอาคำให้การด้วยประการหนึ่งประการใด แม้ขืนทำผิดพระราชบัญญัตินี้แล้ว ให้ถือว่า ผู้นั้นทำนอกทำเหนือพระราชโองการ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนดกฎหมาย ให้ลงพระราชอาญาตามโทษานุโทษ
 
 
{{c|'''มาตรา ๓'''}}
 
ในการที่จะพิพากษาคดีมีโทษนั้น ให้ผู้พิพากษาพิเคราะห์เอาตามหลักฐานแลสักขีพยานบรรดามีในคดีนั้น ๆ ถ้าเห็นมีหลักฐานมั่นคงว่า ผู้ต้องหาเปนโจรผู้ร้าย ถึงจะรับเปนสัจฤๅมิรับประการใด ก็ให้พิพากษาโทษไปตามพระราชบัญญัติลักษณพยาน รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๓ นั้นทุกประการ
 
 
 
ประกาศมา ณ วันที่ ๑ มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๕ เปนวันที่ ๑๐๓๓๔ ในรัชกาลปัตยุบันนี้
 
 
 
 
 
{{ก|ม|๒|ห้ามมิให้ข้าราชการผู้หนึ่งผู้ใดลงอาญาด้วยเครื่องเฆี่ยน เครื่องจำ ฤๅเครื่องทรมานอย่างอื่น แก่ร่างกายผู้ต้องหาว่าเปนโจรผู้ร้าย เพื่อจะฟอกซักเอาคำให้การด้วยประการหนึ่งประการใด แม้ขืนทำผิดพระราชบัญญัตินี้แล้ว ให้ถือว่า ผู้นั้นทำนอกทำเหนือพระราชโองการ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนดกฎหมาย ให้ลงพระราชอาญาตามโทษานุโทษ}}
== เชิงอรรถ ==
 
{{ก|ม|๓|ในการที่จะพิพากษาคดีมีโทษนั้น ให้ผู้พิพากษาพิเคราะห์เอาตามหลักฐานแลสักขีพยานบรรดามีในคดีนั้น ๆ ถ้าเห็นมีหลักฐานมั่นคงว่า ผู้ต้องหาเปนโจรผู้ร้าย ถึงจะรับเปนสัจฤๅมิรับประการใด ก็ให้พิพากษาโทษไปตาม[[พระราชบัญญัติลักษณพยาน รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๓]] นั้นทุกประการ}}
{{reflist}}
 
<div id="ปก"></div>
ประกาศมา ณ วันที่ ๑ มีนาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๕ เปนวันที่ ๑๐๓๓๘ ในรัชกาลปัตยุบันนี้
<br><br>
==บรรณานุกรม==
 
* "[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/048/573.PDF พระราชบัญญัติยกเลิกวิธีพิจารณาโจรผู้ร้ายตามจารีตนครบาล (ร.ศ. ๑๑๕ พ.ศ. ๒๔๓๙)]". (๒๔๓๙, ๘ มีนาคม). ''ราชกิจจานุเบกษา''. เล่ม ๑๓, ตอน ๔๘. หน้า ๕๗๓–๕๗๖.
 
==สัญญาอนุญาต==
 
{{ข้อมูลข่าวสารของราชการ-ไทย}}
----
{{ท้ายเรื่อง}}
----
{{แม่แบบ:ข้อมูลข่าวสารของราชการ-ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:พระราชบัญญัติ/ยในปี พ.ศ. 2439]]
[[หมวดหมู่:พระราชบัญญัติ/แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอื่น – ย]]
[[หมวดหมู่:พระราชบัญญัติ/วิธีสบัญญัติกฎหมายตราสามดวง]]
[[หมวดหมู่:พระราชบัญญัติ/๒๔๓๑-๒๔๔๐]]
[[หมวดหมู่:พระราชบัญญัติ/ยังใช้อยู่]]