1,741
การแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
|-
| 3. || รายละเอียดว่าการยึดอำนาจของกองทัพมีการวางแผนและลงมืออย่างไรนั้นยังเป็นหัวข้อความสนใจเฉพาะในทางวิชาการอยู่ในขณะนี้ แต่ก็คุ้มค่าที่จะยกบางประเด็นในความสัมพันธ์นี้ มีสิ่งบ่งชี้หลายสิ่งของการคบคิดรัฐประหารระหว่างปีที่แล้ว กองทัพไทยอาจมีขีดความสามารถเริ่มและลงมือรัฐประหารที่ประสบความสำเร็จได้ตลอดช่วงเวลานี้ อย่างไรก็ดีต่อเมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่องค์ประกอบสำคัญสู่การตัดสินใจขั้นสุดท้ายถูกนำมาปะติดปะต่อกัน การยึดอำนาจดังกล่าวเป็นไปได้ว่าเกือบเกิดขึ้นแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา และแน่นอน ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น พลเอกบุญชัย บำรุงพงศ์สั่งการให้กองทัพตื่นตัวป้องกันการเกิดรัฐประหาร ยิ่งไปกว่านั้นพระมหากษัตริย์คัดค้านรัฐประหารเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาอย่างชัดเจน สุดท้ายผู้นำกองทัพส่วนใหญ่กังวลว่ารัฐประหารอาจต้องฆ่าคนอีกหลายพันคนเพื่อฟื้นฟูระเบียบ ในทางตรงข้ามสัปดาห์ก่อนมีความเห็นตรงกันในหมู่ผู้นำกองทัพ พระมหากษัตริย์ดูเห็นชอบ และผู้นำนักศึกษาและแรงงานถูกปราบปรามไม่ว่าถูกจำกุมหรือด้วยความกังวลเกี่ยวกับการพัวพันของนักศึกษาในการดูหมิ่นพระราชวงศ์
|-
| 4. || ผู้สังเกตการณ์บางคน--โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่นักหนังสือพิมพ์และผู้อยู่อาศัยต่างด้าวของประเทศไทย--ได้พยายามปะติดปะต่อเหตุการณ์สัปดาห์ที่แล้วกับการกลับประเทศไทยของอดีตนายกรัฐมนตรีถนอมในวันที่ 19 ก.ย. โดยเป็นส่วนหนึ่งของอุบายครอบคลุมเบ็ดเสร็จในการโค่นรัฐบาลประชาธิปไตย ทฤษฎี "คบคิด" นี้ในบางฉบับ กล่าวหาว่าถึงขั้นว่าการแขวนคอล้อที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 4 ต.ค. ที่มีนักศึกษาคนหนึ่งที่คล้ายกับมกุฎราชกุมารนั้น ถูกจัดเตรียมโดยผู้คบคิดรัฐประหารเพื่อนำมาซึ่งความไร้ระเบียบ และยังเป็นข้ออ้างในการยึดอำนาจของกองทัพ แก่นของ "การคบคิด" โดยปราศจากรายละเอียดจำเพาะนี้มีการบอกเล่าในความเห็นต่อการยึดอำนาจในการแพร่สัญญาณวิทยุจากกรุงมอสโก กรุงเวียงจันทน์และกรุงฮานอย
|}▼
<!--▼
|-
| 5. || นอกเหนือจากการกะเวลาที่ใกล้ชิดแล้ว ไม่มีหลักฐานสำหรับข้อกล่าวหาทั้งหมดนี้ แม้ถนอมอาจได้รับอนุญาตให้พำนักอยู่ในประเทศไทย เขาไม่ได้มีความสัมพันธ์อันดีเป็นพิเศษกับพลเรือเอกสงัดและผู้นำกองทัพคนอื่น และบุคลากรกองทัพไทยส่วนใหญ่บัดนี้ดูเหมือนรู้สึกว่าเวลาของถนอมเป็นอดีตไปแล้วในทุกกรณี การกลับประเทศของถนอมปลดปล่อยความตึงเครียดซึ่งในขั้นแรกนำไปสู่การลาออกของนายกรัฐมนตรีเสนีย์ในวันที่ 23 ก.ย. และการตัดสินใจของเสนีย์ในวันที่ 5 ต.ค. ในการส่งตำรวจเข้าสู่วิทยาเขต ม. ธรรมศาสตร์เพื่อจำกุมนักศึกษาบางส่วน อย่างไรก็ดี การกลับประเทศของถนอมไม่ได้เป็นแรงจูงใจหลักสู่เหตุการณ์สัปดาห์ก่อน ผู้นำกองทัพอาจเคยใช้แผนฉุกเฉินที่เตรียมการมานานในการจัดรัฐประหาร แต่ครั้งนี้ดูเหมือนว่าเป็นครั้งที่เตรียมการล่วงหน้ายาวนานที่สุด ตัวรัฐประหารเองดูเหมือนถูกตัดสินใจเป็นปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์ในวันที่ 6 ต.ค.
|-
▲|}
▲<!--
| 6. || WHILE THE DECISION TO STAGE THE COUP WAS MADE BY THE MILITARY LEADERS THEMSELVES, IT IS A SAD COMMENTARY ON THE DEMOCRATIC EXPERIMENT TO NOTE THEY DID NOT RPT NOT TAKE OVER FROM A SUCCESSFUL, FUNCTIONING DEMOCRATIC GOVERNMENT. RATHER, DEMOCRATIC GOVERNMENT WAS SEEN BY A SIGNIFICANT PROPORTION OF THAI--NOT ALL OF THEM MILITARY OFFICERS--AS BEING UNSUITED TO THAILAND'S NEEDS. A LARGE SHARE IN THE RESPONSIBILITY FOR THE EVENTS THAT LED TO THIS END TO THE DEMOCRATIC EXPERIMENT MUST LIE WITH THE LEADERSHIP OF THE NATIONAL STUDENT CENTER OF THAILAND (NSCT) AND WITH THE PROGRESSIVE FACTION OF THE DEMOCRAT PARTY. THE STUDENT LEADERS, PERHAPS INITIALLY CONCERNED OVER THE IMPLICATIONS OF THANOM'S RETURN, APPEARED TO BE USING THE DEMONSTRATIONS AGAINST THANOM TO CONSOLIDATE THEIR ASCENDANCY OVER THAI UNIVERSITY STUDENTS AND TO REACH BEYOND THEM TO THE COMMUNITY AS A WHOLE. THE PROGRESSIVE FACTION OF THE DEMOCRAT PARTY EVIDENTLY SAW IN THE RETURN OF THANOM A MEANS OF PRESSURING PRIME MINISTER SENI INTO INCREASING ITS SHARE OF CABINET POSTS IN EXCHANGE FOR RELENTING IN ITS CAMPAIGN TO FORCE THANOM TO LEAVE THAILAND.
|-
|
การแก้ไข