ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส (ค.ศ. 1791)/ส่วนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 42:
{{ตรคป
| <pages index="Constitution française (1791).pdf" include="4" onlysection="4b"/>
| {{largeinitial‎|ผู้|2em}}แทนประชาชนชาวฝรั่งเศส ซึ่งประกอบกันเป็นสมัชชาแห่งชาติ เห็นว่า การเมินเฉย หลงลืม หรือดูแคลนสิทธิมนุษยชน เป็นสาเหตุหนึ่งเดียวของความทุกข์เข็ญในสาธารณชนและการฉ้อฉลในรัฐบาล จึงตกลงใจจะแสดงสิทธิมนุษยชนอันเป็นสิทธิตามธรรมชาติ มิอาจถ่ายโอนกันได้ และมีความศักดิ์สิทธิ์ ไว้ในประกาศอันขึงขัง<ref>คำคุณศัพท์ "solemnelle" หรือที่ปัจจุบันเขียนว่า "solennelle" นั้น ตรงกับคำว่า{{uc|cnrtl}} "solemn"(2012g) ในภาษาอังกฤษว่า ซึ่งสำนักงานราชบัณฑิตยสภามีความหมายว่า โอ่อ่าและผ่าเผยสมแก่วารโอกาส (2563)avec บัญญัติศัพท์ว่าapparat "เป็นพิธีการ"et แต่ในที่นี้เลือกแปลว่าdans "ขึงขัง"la เพราะคำนี้นอกจากจะแปลว่าmajesté qui convient à la circonstance), เป็นพิธีการไปตามแบบพิธีทางกฎหมาย (ofaccompli adans formalles orformes ceremonious characterlégales), ได้แล้ว ยังเป็นสง่าเพราะมีความหมายว่า ลักษณะจริงจังและผ่าเผย (seriousqui andest dignifiedimposant par son caractère grave, majestueux) ซึ่งเข้าทีกว่าความเป็นพิธีการฯลฯ และในที่นี้เลือกแปลว่า "ขึงขัง" ซึ่งสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (ม.ป.ป.) นิยาม "ขึงขัง" ว่า "ว. ผึ่งผาย, เอาจริงเอาจัง" อย่างไรก็ดี สำนักงานราชบัณฑิตยสภา (2563) บัญญัติศัพท์ภาษาอังกฤษ "solemn" ว่า "เป็นพิธีการ"</ref> เพื่อว่าประกาศนี้ เมื่อปรากฏเนือง ๆ ต่อสมาชิกทุกผู้ทุกนามในองค์กรทางสังคมแล้ว จะย้ำเตือนให้เขาเหล่านั้นระลึกถึงสิทธิและหน้าที่ของตนโดยไม่เสื่อมคลาย เพื่อว่าการกระทำทั้งหลายของอำนาจนิติบัญญัติก็ดี ของอำนาจบริหารก็ดี ที่อาจเทียบเคียงได้กับเป้าหมายของสถาบันการเมืองทุกแห่งทุกยาม จะได้รับความเคารพมากขึ้น และเพื่อว่าข้อเรียกร้องของพลเมือง ซึ่งแต่นี้ต่อไปจะตั้งอยู่บนหลักการอันเรียบง่ายและโต้แย้งมิได้นั้น จะผันแปรไปสู่การธำรงรักษารัฐธรรมนูญและความผาสุกของทุกคนเรื่อยไป
}}
{{ตรคป