ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:แถลงการณ์ร่วมไทย–กัมพูชา ลงวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 2008"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Geonuch (คุย | ส่วนร่วม)
+ตรวจลิขสิทธิ์
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
{{หัวเรื่องงานแปล
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
<!-- ข้อมูลหลัก -->
=== <center>'''แถลงการณ์ร่วม'''</center> ===
| ชื่อ = {{PAGENAME}}
| ปี = 2555
| ภาษา = en
| ต้นฉบับ =
| ผู้สร้างสรรค์ = รัฐบาลกัมพูชา
| บรรณาธิการ =
| ส่วน =
| ผู้มีส่วนร่วม =
| ก่อนหน้า =
| ถัดไป =
| หมายเหตุ =
<!-- ข้อมูลย่อย (สำหรับจัดระเบียบหรือเชื่อมโยงไปหน้าอื่น) -->
| หมวดหมู่ =
| แก้กำกวม =
| รุ่น =
| สถานีย่อย = สนธิสัญญา/ปราสาทพระวิหาร/ความสัมพันธ์ไทย–กัมพูชา
| ผู้สร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้อง =
| วิกิพีเดีย =
| คอมมอนส์ =
| หมวดหมู่คอมมอนส์ =
| วิกิคำคม =
| วิกิข่าว =
| วิกิพจนานุกรม =
| วิกิตำรา =
| วิกิห้องสมุด =
| วิกิสนเทศ =
| วิกิท่องเที่ยว =
| วิกิวิทยาลัย =
| วิกิสปีชีส์ =
| เมทา =
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="1"/>
| {{ก|แถลงการณ์ร่วม}}
 
{{ก|18 มิถุนายน 2008}}
}}
ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2008 มีการประชุมหารือกันระหว่าง นายซก ฮัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีรับผิดชอบสำนักคณะรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา และนายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อสืบต่อการหารือระหว่างทั้งสองท่าน ว่าด้วยการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก การประชุมคราวนี้จัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโก ในกรุงปารีส โดยที่มีท่านอื่นๆ เข้าร่วมด้วย ได้แก่ นางฟรองซัวส์ ริเวเร (Francoise Riviere) ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรมของยูเนสโก, เอกอัครราชทูต ฟรานเซสโก คารูโซ (Francesco Caruso), นาย อาเซดิโน เบสชอต (Azedino Beschaouch), นางเปาลา เลออนซินี บาร์โตลี (Paola Leoncini Bartoli) และนายจิโอวานนี บอคคาร์ดี (Giovanni Boccardi)
{{คั่นหน้า}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2a"/>
| {{ก|แถลงการณ์ร่วม}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2b"/>
| ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2008 มีการประชุมระหว่าง ฯพณฯ นายซก อาน<ref>เขมร: សុខ អាន ''สุข อาน'' สุข อาน</ref> รองนายกรัฐมนตรี<ref>เขมร: ឧបនាយករដ្ឋមន្ដ្រី ''อุบนายกรฎฺฐมนฺฎฺรี'' อุปนายกรัฐมนตรี</ref> รัฐมนตรีประจำสำนักงานคณะรัฐมนตรี<ref>เขมร: រដ្ឋមន្ដ្រីទទួលបន្ទុកទីស្ដីការគណៈរដ្ឋមន្ដ្រី ''รฎฺฐมนฺฎฺรี ทะทวัล บนฺทุก ทีสฺฎีการ คณะรฎฺฐมนฺฎฺรี'' รัฐมนตรีรับผิดชอบ[สถาน]ที่สั่งการคณะรัฐมนตรี</ref> แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา<ref>เขมร: ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា ''พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา'' พระราชาณาจักรกัมพูชา</ref> กับ ฯพณฯ นายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่ออภิปรายกันต่อเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก การประชุมจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ยูเนสโกในปารีสต่อหน้านางฟรองซัวส์ รีวีแยร์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรมของยูเนสโก, เอกอัครราชทูตฟรานเซสโก คารูโซ, นายเอซดีน แบชาอูช, นางปาโอลา เลอ็อนชีนี บาร์โตลี, และนายจีโอวันนี บอกการ์ดี
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2c"/>
| การประชุมจัดขึ้นด้วยเจตนารมณ์แห่งความเป็นมิตรและร่วมมือกัน
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2d"/>
| ระหว่างประชุม ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน ดังนี้
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2e"/>
| {{รรล|ราชอาณาจักรไทยสนับสนุนการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร ซึ่งมีอาณาบริเวณระบุไว้เป็นหมายเลข 1 ในแผนที่ที่เจ้าหน้าที่กัมพูชาจัดทำขึ้นและแนบท้ายเอกสารนี้ ไว้ในบัญชีมรดกโลกตามที่ราชอาณาจักรกัมพูชาเสนอ ณ การประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ 32 (ควิเบก แคนาดา กรกฎาคม 2008) แผนที่นั้นยังรวมถึงเขตกันชนทางด้านตะวันออกและใต้ของปราสาท อันระบุไว้เป็นหมายเลข 2}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2f"/>
| {{รรล|start=2|ด้วยเจตนารมณ์แห่งความปรารถนาดีและการผูกมิตรไมตรี ราชอาณาจักรกัมพูชายอมรับว่า ในชั้นนี้ ปราสาทพระวิหารจะได้รับการเสนอชื่อให้ขึ้นทะเบียนไว้ในบัญชีมรดกโลก โดยไม่รวมเขตกันชนในพื้นที่ด้านเหนือและตะวันตกของปราสาท}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2g"/>
| {{รรล|start=3|แผนที่ที่เอ่ยถึงในวรรค 1 ข้างต้นนั้น ให้ใช้แทนแผนที่ทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับและรวมถึง "แผนแม่บทเพื่อจัดเขตพระวิหาร" ตลอดจนการอ้างอิงทางกราฟิกส์ทั้งหมดที่กำหนด "พื้นที่หลัก" และจัดเขต (กำหนดเขต) อื่น ๆ ของที่ตั้งปราสาทพระวิหาร อันอยู่ในแฟ้มการเสนอชื่อของกัมพูชา}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="2" onlysection="2h"/>
| {{รรล|start=4|ระหว่างที่รอผลการดำเนินงานของคณะกรรมการร่วมว่าด้วยเขตแดนทางบก (เจบีซี) ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่รายรอบปราสาทพระวิหารด้านเหนือและตะวันตก ซึ่งระบุไว้เป็นหมายเลข 3 ในแผนที่ที่เอ่ยถึงในวรรค 1 ข้างต้นนั้น ให้มีการจัดทำแผนบริหารจัดการพื้นที่เหล่านี้ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่กัมพูชาและไทยตามมาตรฐานการอนุรักษ์ระหว่างประเทศ เพื่อธำรงไว้ซึ่งคุณค่าอันโดดเด่นเป็นสากลของทรัพย์สิน แผนบริหารจัดการเช่นว่านั้นให้รวมไว้ในแผนบริหารจัดการปราสาทและพื้นที่รายรอบฉบับสุดท้ายที่จะได้เสนอต่อศูนย์มรดกโลกภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2010 เพื่อให้คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาในการประชุม ครั้งที่ 34 ในปี 2010}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="3" onlysection="3a"/>
| {{รรล|start=5|การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก จะไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิของราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทยเกี่ยวกับงานปักปันเขตแดนของคณะกรรมการร่วมว่าด้วยเขตแดนทางบก (เจบีซี) ของทั้งสองประเทศ}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="3" onlysection="3b"/>
| {{รรล|start=6|ราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทยขอแสดงความขอบคุณอย่างสุดซึ้งต่อ ฯพณฯ นายโคอิจิโร มัตสึอูระ ผู้อำนวยการใหญ่ของยูเนสโก ที่เมตตาอนุเคราะห์ให้ความสะดวกในกระบวนการอันนำไปสู่การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="3" onlysection="3c"/>
| {{หว
|{{รมมจ|''พนมเปญ 18 มิถุนายน 2008''|สำหรับรัฐบาลในพระมหากษัตริย์|กัมพูชา|ซก อาน|ฯพณฯ นายซก อาน|รองนายกรัฐมนตรี|รัฐมนตรีประจำสำนักงาน|คณะรัฐมนตรี}}
|
|{{รมมจ|''กรุงเทพฯ 18 มิถุนายน 2008''|สำหรับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักร|ไทย|นพดล ปัทมะ|ฯพณฯ นายนพดล ปัทมะ|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ}}
|style=text-align:center
}}
}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="3" onlysection="3d"/>
| {{กก|{{รมมจ|''ปารีส 18 มิถุนายน 2008''|ผู้แทนยูเนสโก|ฟรองซัวส์ รีวีแยร์|ฟรองซัวส์ รีวีแยร์|ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรม}}|center}}
}}
{{คั่นหน้า}}
<pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="4"/>
{{คั่นหน้า}}
{{ตารางคำแปล
| <pages index="Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf" include="6"/>
| {{ก|คณะรัฐมนตรี}}
 
{{ก|แห่ง}}
การประชุมหารือคราวนี้ดำเนินไปด้วยเจตนารมณ์แห่งมิตรภาพและความร่วมมือกัน
 
{{ก|รัฐบาลในพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรกัมพูชา<ref>เขมร: រដ្ឋាភិបាលនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា ''รฎฺฐาภิบาล ไน พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา'' รัฏฐาภิบาลในพระราชาณาจักรกัมพูชา</ref>}}
ระหว่างการประชุมหารือ ทั้งสองฝ่ายได้ทำความตกลงกันดังต่อไปนี้
 
1. ราชอาณาจักรไทยสนับสนุนการขึ้นทะเบียนประสาทพระวิหาร เข้าไว้ในบัญชีมรดกโลก ตามการเสนอของราชอาณาจักรกัมพูชา ณ การประชุมครั้งที่ 32 ของคณะกรรมการพิจารณามรดกโลก (นครควิเบก, ประเทศแคนาดา, เดือนกรกฎาคม 2008) ตามขอบเขตรอบดินแดนซึ่งระบุไว้ว่าเป็น หมายเลข 1 ในแผนที่ซึ่งจัดทำโดยทางการผู้รับผิดชอบของกัมพูชา และได้แนบท้ายมาด้วยแล้ว แผนที่ดังกล่าวยังได้ครอบคลุมพื้นที่กันชนทางด้านตะวันออกและด้านใต้ของ ปราสาท โดยระบุให้เป็น หมายเลข 2
 
2. ด้วยเจตนารมณ์แห่งมิตรภาพและความร่วมมือกัน ราชอาณาจักรกัมพูชายอมรับว่า ปราสาทพระวิหารที่จะเสนอขอขึ้นทะเบียนไว้ในบัญชีมรดกโลก ในขั้นนี้จะไม่ได้รวมพื้นที่กันชนทางด้านเหนือและด้านตะวันตกของปราสาท
 
{{ก|พิมพ์ที่พนมเปญ}}
3. แผนที่ซึ่งอ้างไว้ในวรรค 1 ข้างต้น จะแทนที่แผนที่ต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องและบรรจุไว้ใน “Schema Directeur pour le Zonage de Preah Vihear” ตลอดจนการอ้างอิงด้านกราฟฟิกทั้งหมดที่ระบุบ่งชี้ถึง “บริเวณหลัก” (core zone) และการแบ่งบริเวณอื่นๆ (zonage) ของปราสาทพระวิหาร ที่บรรจุอยู่ในแฟ้มเสนอขอขึ้นทะเบียนของกัมพูชาด้วย
 
{{ก|กัมพูชา}}
}}
4. ระหว่างที่รอผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการร่วมเพื่อการปักปันเขตแดนทางบก (Joint Commission for Land Boundary หรือ JBC) เกี่ยวกับพื้นที่ด้านเหนือและด้านตะวันตกรอบๆ ปราสาทพระวิหาร ซึ่งได้รับการระบุให้เป็น หมายเลข 3 ในแผนที่ที่อ้างอิงไว้ในวรรค 1 ข้างต้น แผนการบริหารจัดการพื้นที่เหล่านี้จะได้รับการจัดทำในลักษณะของการประสาน ร่วมมือกันระหว่างทางการผู้รับผิดชอบของกัมพูชาและทางการผู้รับผิดชอบของไทย โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระหว่างประเทศ ด้วยทัศนะที่มุ่งรักษาคุณค่าอันเป็นสากลที่โดดเด่นของทรัพย์สินดังกล่าวนี้ แผนการบริหารจัดการดังกล่าวนี้จะบรรจุไว้ในแผนการบริหารจัดการสุดท้ายสำหรับ ปราสาทพระวิหารและบริเวณรอบๆ ปราสาท ซึ่งจะยื่นเสนอต่อศูนย์กลางมรดกโลก (World Heritage Centre) ภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2010 เพื่อการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณามรดกโลก ในการประชุมครั้งที่ 34 ในปี 2010
==เชิงอรรถของวิกิซอร์ซ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
5. การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลกครั้งนี้ จะไม่ทำให้เสื่อมเสียสิทธิ์ของราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย ในการกำหนดปักปันเขตแดนของคณะกรรมการร่วมเพื่อการปักปันเขตแดนทางบก (JBC) ของประเทศทั้งสอง
 
==บรรณานุกรม==
6. ราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย ขอแสดงความซาบซึ้งใจอย่างยิ่งต่อท่านผู้อำนวยการใหญ่องค์การยูเนสโก ฯพณฯ นายโคอิชิโร มัตสึอุระ สำหรับความช่วยเหลือของท่านในการอำนวยความสะดวกให้แก่กระบวนการเพื่อการขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก
 
* Council of Ministers of Cambodia. (2008, 18 June). ''Joint Communique''. Retrieved from [[ดัชนี:Kh Th Joint Communique (2008-05-22).pdf|https://pressocm.gov.kh/wp-content/uploads/2017/07/PRU-PUB_18082009_ENG.pdf]]
พนมเปญ, 18 มิถุนายน 2008.................กรุงเทพฯ, 18 มิถุนายน 2008
 
{{สัญญาอนุญาตงานแปล
| {{สาธารณสมบัติ-รัฐบาลกัมพูชา}}
ในนามรัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชา........ในนามรัฐบาลราชอาณาจักรไทย
| {{สาธารณสมบัติ-เอง}}
}}
 
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญากัมพูชา]]
ฯพณฯ นาย ซก อัน...............................ฯพณฯ นายนพดล ปัทมะ
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาไทย]]
 
รองนายกรัฐมนตรี................................รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
รัฐมนตรีรับผิดชอบสำนักคณะรัฐมนตรี
ปารีส, 18 มิถุนายน 2008
ผู้แทนของยูเนสโก
 
ฟรองซัวส์ ริวีเร
ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรม
 
 
----
 
ต้นฉบับของแถลงการณ์ฉบับนี้เป็นภาษาอังกฤษ คำแปลภาษาไทยเผยแพร่โดย [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000074449 ผู้จัดการออนไลน์]