ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:ประชาธิปไตยในสยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2heures8 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 2:
<!-- ข้อมูลหลัก -->
| ชื่อ = {{PAGENAME}}
| ปี = | เขียนทับปี = ราว พ.ศ. 2470
| ปี =
| ภาษา = en
| ต้นฉบับ =
บรรทัดที่ 92:
{{ตรคป
| <pages index="พระปกเกล้าฯ กับ รธน ไทย (vol 2).pdf" from="5" fromsection="5-6" to="6" tosection="6-1"/>
| บางทีอาจสร้างกรรมการองคมนตรีแบบใหม่ขึ้นสนองความมุ่งหมายนั้นได้ในแนวทางเล็ก ๆ กระมัง? นี่เป็นเหตุผลว่า ทำไมข้าพเจ้าจึงคิดว่า ความเห็นของหม่อมเจ้าสิทธิพร<ref>ดู [[หนังสือหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2470]]</ref> ก็น่าสนใจอยู่ กระนั้น ข้าพเจ้าใคร่เสนอให้แก้ไขเล็กน้อย อาจเพิ่มข้อความเข้าไปในหรือหลังมาตรา 13 ว่า "ถ้าสมาชิก 15 คนในกรรมการองคมนตรีมีคำร้องเป็นหนังสือต่อประธานกรรมการขอให้ประธานกราบบังคมทูลสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินว่า มีบางเรื่องที่สำคัญต่อสวัสดิภาพโดยทั่วไปของบ้านเมืองและประชาชน และควรที่พระองค์จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรรมการได้อภิปรายเรื่องนั้นไซร้ ก็ให้ประธานทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระองค์ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดประชุมอภิปรายเรื่องดังกล่าว" เป็นที่เข้าใจกันว่า พระเจ้าแผ่นดินจะทรงอนุญาตให้จัดประชุมหรือไม่ก็ได้ตามที่ทรงเห็นควร (นี่เป็นสิทธิในการยับยั้งซึ่งรัฐประชาธิปไตยทุกรัฐยอมรับ พระเจ้าแผ่นดินจะทรงยุบรัฐสภาก็ยังได้) ข้าพเจ้าคิดว่า เมื่ออยู่ในรูปแบบนี้ ก็ค่อนข้างจะยอมรับได้ และดียิ่งกว่าจะมอบสิทธิทั่วหน้าให้แก่องค์กรที่มิได้มาจากการเลือกตั้งไปประชุมกันในเวลาใดก็ได้ ข้าพเจ้าเชื่อว่า สภานี้จะสามารถบรรลุความมุ่งหมายในการเป็นเครื่องกีดกันมิให้ผู้อยู่ในอำนาจประพฤติโดยพลการหรือโดยขัดกับประโยชน์ของรัฐได้ ใครก็ตามที่อยู่ในอำนาจคงอึกอักที่จะยกคำร้องเช่นนั้น เว้นแต่เขาจะมีเหตุผลที่ดีจริง ๆ แน่นอนว่าเป็นไปได้ที่คนผู้เสื่อมศีลธรรมอย่างสมบูรณ์แบบจะยกคำร้องนั้นเสีย แต่เมื่อมีคนเยี่ยงนี้แล้ว จะสถาบันไหนก็ไม่อาจขวางมันมิให้กระทำการชั่วได้ดอก ต่อให้เป็นรัฐสภาก็ตาม (ลองเทียบกรณีชาลส์ที่ 1 ดู) และสิ่งเดียวที่จะต้องทำ ก็คือ กุดหัวมันเสีย!
}}
{{ตรคป
บรรทัดที่ 126:
}}
 
[[หมวดหมู่:งานในปี พ.ศ. 2470]]
[[หมวดหมู่:บันทึก]]