ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้า:กอ ๑๒๗ (๒๔๕๑).pdf/2"

Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
 
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หัวเรื่อง (ไม่ถูกรวม) :หัวเรื่อง (ไม่ถูกรวม) :
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{หว|เล่ม ๒๕ หน้า ๒๐๗|ราชกิจจานุเบกษา|วันที่ ๑ มิถุนายน ๑๒๗}}{{สต}}
{{หว|เล่ม ๒๕ หน้า ๒๐๗|ราชกิจจานุเบกษา|วันที่ ๑ มิถุนายน ๑๒๗}}{{สต}}
<table cellspacing="0">
<tr>
<td style="width:50%; padding-right:1em; border-right:1px solid gray;" valign="top">
เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
สรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมาล ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิฐศักดิสมญาพินิตประชานารถ เปรมกระมลขัตติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเสวตรฉัตราดิฉัตร์ ศิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยามหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤไทย อโนปไมยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
<noinclude><table cellspacing="0">
<tr>
<td style="width:50%; padding-right:1em; border-right:1px solid gray;" valign="top"></noinclude>สรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมาล ทิพยเทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิฐศักดิสมญาพินิตประชานารถ เปรมกระมลขัตติยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินครวรุตเมกราชดิลก มหาปริวารนายกอนันต์มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปดลเสวตรฉัตราดิฉัตร์ ศิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยามหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤไทย อโนปไมยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


<noinclude>{{ชว}}</noinclude>ทรงพระราชดำริห์ว่า พระราชกำหนดกฎหมายสำหรับพระราชอาณาจักร์สยามนี้ บรมกระษัตริย์แต่โบราณสมัยได้รับคัมภีร์พระธรรมสาตรของมนูสาราจารย์ซึ่งเปนกฎหมายในมัชฌิมประเทศมาเปนหลักของกฎหมายแล้ว
ทรงพระราชดำริห์ว่า พระราชกำหนดกฎหมายสำหรับพระราชอาณาจักร์สยามนี้ บรมกระษัตริย์แต่โบราณสมัยได้รับคัมภีร์พระธรรมสาตรของมนูสาราจารย์ซึ่งเปนกฎหมายในมัชฌิมประเทศมาเปนหลักของกฎหมายแล้ว


<noinclude>{{ชว}}</noinclude>แลเมื่อมีเหตุอันใดเกิดขึ้นอันจะตัดสินด้วยพระธรรมสาตรมิได้ โดยกฎหมายพระธรรมสาตรไม่กล่าวถึงก็ดี หรือโดยประเพณีแลความนิยมในสยามประเทศผิดกันกับมัชฌิมประเทศก็ดี บรมกระษัตริย์แต่ปางก่อนก็ทรง<noinclude></td>
แลเมื่อมีเหตุอันใดเกิดขึ้นอันจะตัดสินด้วยพระธรรมสาตรมิได้ โดยกฎหมายพระธรรมสาตรไม่กล่าวถึงก็ดี หรือโดยประเพณีแลความนิยมในสยามประเทศผิดกันกับมัชฌิมประเทศก็ดี บรมกระษัตริย์แต่ปางก่อนก็ทรง<noinclude></td>
<td style="width:50%; padding-left:1em;" valign="top"></noinclude>ตั้งพระราชกำหนดบทพระอัยการขึ้นไว้เปนแบบแผนสำหรับพิพากษาเหตุแลคดีอย่างนั้น ๆ ที่จะมีขึ้นในภายหน้า พระราชกำหนดบทพระอัยการนี้ก็เปนกฎหมายสำหรับพระราชอาณาจักรเพิ่มเติมขึ้นโดยลำดับมา แลพระราชกำหนดบทพระอัยการที่ได้ตั้งมาเปนครั้งเปนคราวนี้ เมื่อล่วงเวลาช้านานเข้า ก็มีมากมายซับซ้อนกัน เกิด เกิดลำบากแก่การที่จะพิพากษาอรรถคดี โดยการบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงมาพ้นเหตุล่วงสมัยที่จะต้องใช้พระราชกำหนดบทพระอัยการที่กระษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ ได้ทรงบัญญัติไว้หลายชั่วอายุคนแล้วบ้าง หรือโดยเหตุที่พระราชกำหนดบทพระอัยการเก่าขัดขวางกับที่บรมกระษัตริย์ภายหลังได้ทรงตั้งขึ้นบ้าง ในเวลาเมื่อถึงความลำบากมีขึ้นเช่นนี้ พระเจ้าแผ่นดินจึงโปรดให้ประชุมลูกขุนณศาลา อันเปนเจ้ากระทรวงฝ่ายธุระการ พร้อมด้วยลูกขุนณศาลหลวง อันมีตำแหน่งในฝ่ายตุลาการ ตรวจชำระพระราชกำหนดกฎหมาย แลทรงพระราชวินิจฉัยให้ยกเลิกบทกฎหมายที่พ้นเวลาแลมิควรจะใช้ออกเสีย คงไว้แต่ที่ยังใช้ได้ จัดระเบียบเข้าเปนลักษณมีหมวดหมู่แลมาตราให้คนทั้งหลายรอบรู้บทกฎหมายง่ายขึ้นแลเปนความสดวกแก่การพิพากษาอรรถคดีทั้งปวงทั่วไป เปนราชประเพณีมีสืบมาแต่โบราณทีเดียวดังนี้ แลการตรวจชำระพระราชกำหนดกฎหมายดังว่ามานี้ ครั้งหลังที่สุดได้มีเมื่อจุลศักราช ๑๑๖๖ ปีชวด{{วว}}<noinclude>
<td style="width:50%; padding-left:1em;" valign="top"></noinclude>ตั้งพระราชกำหนดบทพระอัยการขึ้นไว้เปนแบบแผนสำหรับพิพากษาเหตุแลคดีอย่างนั้น ๆ ที่จะมีขึ้นในภายหน้า พระราชกำหนดบทพระอัยการนี้ก็เปนกฎหมายสำหรับพระราชอาณาจักรเพิ่มเติมขึ้นโดยลำดับมา แลพระราชกำหนดบทพระอัยการที่ได้ตั้งมาเปนครั้งเปนคราวนี้ เมื่อล่วงเวลาช้านานเข้า ก็มีมากมายซับซ้อนกัน เกิด เกิดลำบากแก่การที่จะพิพากษาอรรถคดี โดยการบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงมาพ้นเหตุล่วงสมัยที่จะต้องใช้พระราชกำหนดบทพระอัยการที่กระษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ ได้ทรงบัญญัติไว้หลายชั่วอายุคนแล้วบ้าง หรือโดยเหตุที่พระราชกำหนดบทพระอัยการเก่าขัดขวางกับที่บรมกระษัตริย์ภายหลังได้ทรงตั้งขึ้นบ้าง ในเวลาเมื่อถึงความลำบากมีขึ้นเช่นนี้ พระเจ้าแผ่นดินจึงโปรดให้ประชุมลูกขุนณศาลา อันเปนเจ้ากระทรวงฝ่ายธุระการ พร้อมด้วยลูกขุนณศาลหลวง อันมีตำแหน่งในฝ่ายตุลาการ ตรวจชำระพระราชกำหนดกฎหมาย แลทรงพระราชวินิจฉัยให้ยกเลิกบทกฎหมายที่พ้นเวลาแลมิควรจะใช้ออกเสีย คงไว้แต่ที่ยังใช้ได้ จัดระเบียบเข้าเปนลักษณมีหมวดหมู่แลมาตราให้คนทั้งหลายรอบรู้บทกฎหมายง่ายขึ้นแลเปนความสดวกแก่การพิพากษาอรรถคดีทั้งปวงทั่วไป เปนราชประเพณีมีสืบมาแต่โบราณทีเดียวดังนี้ แลการตรวจชำระพระราชกำหนดกฎหมายดังว่ามานี้ ครั้งหลังที่สุดได้มีเมื่อจุลศักราช ๑๑๖๖ ปีชวด{{วว}}
</td>
</tr>
</table></noinclude>
ท้ายเรื่อง (ไม่ถูกรวม):ท้ายเรื่อง (ไม่ถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
</td>
</tr>
</table>