ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้า:ตำนานเงินตรา - ดำรง - ๒๔๗๔.pdf/16"

Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ยังไม่พิสูจน์อักษร: สร้างหน้าด้วย "จึงต้องรีบวินิจฉัย แล้วออกประกาศเมื่อเดือนสิบเอ็ด แร..."
 
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
 
สถานะของหน้าสถานะของหน้า
-
ยังไม่พิสูจน์อักษร
+
พิสูจน์อักษรแล้ว
เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
จึงต้องรีบวินิจฉัย แล้วออกประกาศเมื่อเดือนสิบเอ็ด แรมสิบสองค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ (เป็นวันที่ ๑๓ ในรัชกาลที่ ๕) สั่งให้คนทั้งหลายนำเหรียญทองแดงและเหรียญดีบุกของหลวงมาขึ้นเอาเงิน จะยอมให้เต็มราคาภายในสิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนั้นไปแล้ว ให้ใช้ลดราคาลง เหรียญทองแดงอย่างซีกคงราคาแต่อันละอัฐหนึ่ง (แปดอันเฟื้อง) อย่างเสี้ยวคงราคาแต่อันละโสฬสหนึ่ง (สิบหกอันเฟื้อง) เหรียญดีบุกให้ลดราคาลง เหรียญอัฐคงราคาแต่อันละยี่สิบเบี้ย (สี่สิบอันเฟื้อง) อย่างโสฬสคงราคาแต่อันละสิบเบี้ย (แปดสิบอันเฟื้อง) แม้เมื่อรัฐบาลประกาศอัตราราคาอย่างนั้นแล้ว ราษฎรก็ยังลดราคากันโดยลำพังต่อลงไปอีก ใช้อัฐดีบุกเดิมในท้องตลาดเพียงราคาอันละสิบเบี้ย (แปดสิบอันเฟื้อง) โสฬสดีบุกก็ลดราคาลงไปตามกันเป็นอันละห้าเบี้ย (ร้อยหกสิบอันต่อเฟื้อง) คำซึ่งเคยเรียกว่าอัฐและโสฬสก็เรียกกันว่า "เก๊" แต่ใช้กันต่อมาอีกหลายปี
จึงต้องรีบวินิจฉัย แล้วออกประกาศเมื่อเดือน ๑๑ แรม ๑๒ ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ (เป็นวันที่ ๑๓ ในรัชชกาลที่ ๕) สั่งให้คนทั้งหลายนำเหรียญทองแดงและเหรียญดีบุกของหลวงมาขึ้นเอาเงิน จะยอมให้เต็มราคาภายใน ๑๕ วัน เมื่อพ้นกำหนดนั้นไปแล้ว ให้ใช้ลดราคาลง เหรียญทองแดงอย่างซีกคงราคาแต่อันละอัฐ (อันเฟื้อง) อย่างเสี้ยวคงราคาแต่อันละโสฬศ ๑ (๑๖ อันเฟื้อง) เหรียญดีบุกให้ลดราคาลง เหรียญอัฐคงราคาแต่อันละ ๒๐ เบี้ย (๔๐ อันเฟื้อง) อย่างโสฬศคงราคาแต่อันละ ๑๐ เบี้ย (๘๐ อันเฟื้อง) แม้เมื่อรัฐบาลประกาศอัตราราคาอย่างนั้นแล้ว ราษฎรก็ยังลดราคากันโดยลำพังต่อลงไปอีก ใช้อัฐดีบุกเดิมในท้องตลาดเพียงราคาอันละ ๑๐ เบี้ย (๘๐ อันเฟื้อง) โสฬศดีบุกก็ลดราคาลงไปตามกันเป็นอันละเบี้ย (๑๖๐ อันต่อเฟื้อง) คำซึ่งเคยเรียกว่า อัฐ และ โสฬศ ก็เรียกกันว่า "เก๊" แต่ใช้กันต่อมาอีกหลายปี
{{มปก}}
{{มปก}}