ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้า:ตำนานเงินตรา - ดำรง - ๒๔๗๔.pdf/23"

Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ยังไม่พิสูจน์อักษร: สร้างหน้าด้วย "โปรดให้สร้างเหรียญทองแดง เสี้ยว อัฐ โสฬส เพิ่มเติมขึ้..."
 
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
 
สถานะของหน้าสถานะของหน้า
-
ยังไม่พิสูจน์อักษร
+
พิสูจน์อักษรแล้ว
เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
โปรดให้สร้างเหรียญทองแดง เสี้ยว อัฐ โสฬส เพิ่มเติมขึ้น ลักษณะอย่างเดียวกับเหรียญทองแดงเสี้ยว อัฐ โสฬสซึ่งสร้างเมื่อปีกุน พ.ศ. ๒๔๓๐ แปลกแต่ตราพระบรมรูปและตราพระสยามเทวาธิราชไม่กลับกันอย่างของเดิม เบื้องบนและเบื้องล่างตรงไปทางเดียวกัน กับเปลี่ยนเลขประจำปีที่สร้างเท่านั้น
โปรดฯ ให้สร้างเหรียญทองแดง เสี้ยว อัฐ โสฬศ เพิ่มเติมขึ้น ลักษณอย่างเดียวกับเหรียญทองแดง เสี้ยว อัฐ โสฬศ ซึ่งสร้างเมื่อปีกุน พ.ศ. ๒๔๓๐ แปลกแต่ตราพระบรมรูปและตราพระสยามเทวาธิราชไม่กลับกันอย่างของเดิม เบื้องบนและเบื้องล่างตรงไปทางเดียวกัน กับเปลี่ยนเลขประจำปีที่สร้างเท่านั้น.


ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๔๑ รัฐบาลคิดเห็นกันว่า ลักษณะการทำบัญชีเงินแต่เดิมนั้นมีช่องบอกว่า ชั่ง บาท อัฐ เมื่อพ้นชั่งขึ้นไปจึงนับเป็นเรือนร้อยเรือนพัน บัญชีมักไขว้กันไม่สะดวก จึงคิดทำเหรียญทองขาวขึ้นใช้เรียกว่า สตางค์ (ส่วนของร้อย) คือ ร้อยสตางค์ เป็นหนึ่งบาท เพื่อง่ายแก่การบัญชี มีช่องแต่เพียงบาทกับสตางค์เท่านั้น เงินจะมากน้อยเท่าใดก็ต่อตัวเลขขึ้นไปเป็นสิบเป็นร้อย ไม่ต้องหักต้องทอน เป็นการง่ายรวดเร็วกว่าของเดิม สตางค์ที่สร้างขึ้นคราวนี้สร้างด้วยทองขาวเป็นสี่ขนาด ด้านหนึ่งมีรูปช้างสามเศียร มีอักษรว่า "สยามราชอาณาจักร" เหมือนกันทั้งสี่ขนาด ขนาดที่หนึ่ง ด้านหนึ่งมีตัวอักษรว่า{{วว}}
ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๔๑ รัฐบาลคิดเห็นกันว่า ลักษณการทำบัญชีเงินแต่เดิมนั้นมีช่องบอกว่า ชั่ง บาท อัฐ เมื่อพ้นชั่งขึ้นไปจึงนับเป็นเรือนร้อยเรือนพัน บัญชีมักไขว้กันไม่สะดวก จึงคิดทำเหรียญทองขาวขึ้นใช้เรียกว่า สตางค์ (ส่วนของร้อย) คือ ๑๐๐ สตางค์เป็นบาท เพื่อง่ายแก่การบัญชี มีช่องแต่เพียงบาทกับสตางค์เท่านั้น เงินจะมากน้อยเท่าใดก็ต่อตัวเลขขึ้นไปเป็นสิบเป็นร้อย ไม่ต้องหักต้องทอน เป็นการง่ายรวดเร็วกว่าของเดิม สตางค์ที่สร้างขึ้นคราวนี้สร้างด้วยทองขาวเป็นขนาด ด้านหนึ่งมีรูปช้างเศียร มีอักษรว่า "สยามราชอาณาจักร" เหมือนกันทั้ง ขนาดที่ ด้านหนึ่งมีตัวอักษรว่า{{วว}}