ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้า:ตำนานเงินตรา - ดำรง - ๒๔๗๔.pdf/24"

Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ยังไม่พิสูจน์อักษร: สร้างหน้าด้วย "ยี่สิบสตางค์ และมีเลข ๒๐ ตัวใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นราคาย..."
 
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
 
สถานะของหน้าสถานะของหน้า
-
ยังไม่พิสูจน์อักษร
+
พิสูจน์อักษรแล้ว
เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ยี่สิบสตางค์ และมีเลข ๒๐ ตัวใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นราคายี่สิบสตางค์ ใช้ห้าอันเป็นหนึ่งบาท ขนาดที่สอง มีตัวอักษรว่า สิบสตางค์ มีเลข ๑๐ ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคาสิบสตางค์ ใช้สิบอันเป็นหนึ่งบาท ขนาดที่ ๓ มีตัวอักษรว่า ห้าสตางค์ มีเลข ๕ ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคา ๕ สตางค์ ใช้ยี่สิบอันเป็นหนึ่งบาท ขนาดที่ ๔ มีตัวอักษร สองสตางค์กึ่ง มีเลข ๒ ๑/๒ ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคาสองสตางค์กึ่ง ใช้สี่สิบอันเป็นหนึ่งบาท
ยี่สิบสตางค์ และมีเลข ๒๐ ตัวใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นราคา ๒๐ สตางค์ ใช้อันเป็นบาท ขนาดที่ มีตัวอักษรว่า สิบสตางค์ มีเลข ๑๐ ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคา ๑๐ สตางค์ ใช้ ๑๐ อันเป็นหนึ่งบาท ขนาดที่ ๓ มีตัวอักษรว่า ห้าสตางค์ มีเลข ๕ ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคา ๕ สตางค์ ใช้ ๒๐ อันเป็นบาท ขนาดที่ ๔ มีตัวอักษรว่า สองสตางค์กึ่ง มีเลข ๒ {{ศสต||}} ตัวใหญ่อยู่กลาง ราคาสตางค์กึ่ง ใช้ ๔๐ อันเป็นบาท


สตางค์ทองขาวที่สร้างขึ้นใหม่นี้ใช้รวมไปกับเหรียญทองแดงเสี้ยว อัฐ และโสฬสเก่าทั้งสองชนิด จนประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราทองคำ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ จึงเลิกใช้เปลี่ยนเป็นเหรียญกระษาปณ์ทองขาวและทองแดงสามชนิด คือ ทองขาวราคาสิบสตางค์ ทองขาวราคาห้าสตางค์ ทองแดงราคาหนึ่งสตางค์ ด้านหน้ามีอุณาโลม อักษรจารึกว่า "สยามรัฐ" และราคา ด้านหลังมีรูปจักรและศักราช เจาะวงตรงกลาง อย่างที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้
สตางค์ทองขาวที่สร้างขึ้นใหม่นี้ใช้รวมไปกับเหรียญทองแดงเสี้ยว อัฐ และโสฬศเก่าทั้ง ๒ ชะนิด จนประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราทองคำเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ จึงเลิกใช้เปลี่ยนเป็นเหรียญกระษาปณ์ทองขาวและทองแดง ๓ ชะนิด คือ ทองขาวราคา ๑๐ สตางค์ ทองขาวราคาสตางค์ ทองแดงราคาสตางค์ ด้านหน้ามีอุณณาโลม อักษรจารึกว่า "สยามรัฐ" และราคา ด้านหลังมีรูปจักรและศักราช เจาะวงตรงกลาง อย่างที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.
{{สกอ|sp|100}}
{{สกอ|sp|100}}