ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:สอดส่องหลายท้องถิ่น: สยาม/บทที่ 17"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venise12mai1834 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Venise12mai1834 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 27:
{{ตรคป
|In former days the King did not feel himself fully a king unless he possessed a white elephant, and he never hesitated about undertaking a war in order to obtain one of these rare animals. There is a story that Gautama was once a white elephant, and that his mother, in a dream, met him in heaven in that shape. Another legend says that now and again in the world's history a monarch appears who conquers and rules every nation under the sun. This monarch is known by certain signs, and by the possession of certain objects. Of seven particular things that he owns, a white elephant is one, and without a white elephant he could not become king of the world. Then many of the Siamese believe that the animal is inhabited by the soul of some great man of the past, or by that of someone yet unborn, who will in due time be a person of great distinction.
|ในกาลก่อน พระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงรู้สึกว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินอย่างเต็มที่ จนกว่าจะทรงมีช้างเผือกอยู่ในครอบครอง และพระองค์ไม่ทรงรีรอที่จะก่อสงครามเพื่อให้ได้สัตว์หายากเหล่านี้มาสักตัว มีเรื่องหนึ่งเล่าว่า โคตมะ<ref>คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งผนวชแล้วเป็นที่รู้จักว่า พระโคตมพุทธเจ้า</ref> ทรงเคยเป็นช้างเผือก และพระมารดา<ref>คือ พระนางมายา (สิริมหามายา)</ref> ของโคตมะทรงฝันว่า ได้พบโคตมะในร่างนั้นในสรวงสวรรค์<ref>วรรณกรรมศาสนาพุทธมักระบุว่า พระนางมายาทรงฝันถึงช้างเผือก แล้วจึงทรงครรภ์เจ้าชายสิทธัตถะ เช่น ''ปฐมสมโพธิกถา'' ({{ลนน|ป1ฮวอม|ปรมานุชิตชิโนรส, |2478}}: |p=47–48}}) ว่า "ในเพลาราตรีปัจจุสสมัย ทรงพระสุบินนิมิตต์ว่า...มีเศวตหัตถีช้างหนึ่ง...ลงมาจากกาญจนบรรพ...ชูซึ่งงวงอันจับบุณฑริกปทุมชาติสีขาวพึ่งบานใหม่มีเสาวคนธ์หอมฟุ้งตระหลบ แล้วร้องโกญจนาทเข้ามาภายในกนกวิมาน แล้วกระทำประทักษิณพระองค์อันบันทมถ้วน 3 รอบ แล้วเหมือนดุจเข้าไปในอุทรประเทศฝ่ายทักษิณปรัศว์แห่งพระราชเทวี พอบันทมตื่นขึ้น...พระมหาสัตว์เสด็จลงสู่ปฏิสนธิ"</ref> อีกตำนานหนึ่งว่า ในประวัติศาสตร์โลกจะบังเกิดราชาผู้พิชิตและครอบครองชาติทั้งหลายภายใต้ดวงตะวันอยู่เป็นระยะ ๆ ราชาเช่นนี้จะบ่งชี้ได้ด้วยสัญลักษณ์บางประการและด้วยการครอบครองวัตถุบางประการ ในบรรดาสิ่งจำเพาะเจ็ดสิ่งที่ราชาเป็นเจ้าของนั้น มีช้างเผือกเป็นรายการหนึ่ง และหากไร้ซึ่งช้างเผือกแล้ว ราชาจะไม่อาจครองโลกได้เลย อนึ่ง ชาวสยามหลายคนเชื่อว่า เจ้าสัตว์นี้เป็นที่สิงสถิตแห่งวิญญาณของมหาบุรุษในอดีตบางคน หรือของบางคนซึ่งยังไม่ถือกำเนิด แต่จะได้มาบังเกิดเป็นผู้ยิ่งบารมีในเวลาที่เหมาะสม
}}
 
บรรทัดที่ 37:
{{ตรคป
|Strictly speaking, there is no such thing as a white elephant. The animal is not really white, but only a little lighter in colour than the ordinary elephant. Occasionally it is of the colour of dirty bath brick, and it may have a few white hairs on its tail or its head.
|พูดกันให้ชัดแล้ว สัตว์อย่างช้างสีเผือกนั้นไม่มีอยู่จริง เจ้าสัตว์นี้หาได้มีสีเผือกผ่องแท้ ๆ ไม่ เพียงแต่มีสีอ่อนกว่าช้างทั่วไปสักหน่อย บางทีก็มีสีบาทบริก<ref>{{ลนน|mwฮวอ|Merriam-Webster (|n.d.)}} ว่า บาทบริก คือ อิฐที่ไม่เผา ทำจากวัสดุเนื้อซิลิกา ใช้ทำความสะอาดหรือขัดเงาโลหะ ดู ''{{ตลล|ส-ร3|รูปที่ 3|ร3}}''</ref> ขุ่น ๆ และบ้างก็มีขนสีขาวที่หางและหัวเล็กน้อย
}}
 
บรรทัดที่ 59:
{{ตรคป
|The priests then baptized the animal and gave him his new name and titles, which were very numerous, and which were written on a piece of sugar-cane; this the elephant promptly swallowed. It was probably the only part of the ceremony that gave him any pleasure. He was taken to his new apartment, and there fed by kneeling servants, who offered him food on dishes made of silver.
|ครั้นแล้ว นักบวชก็สมโภช<ref>คำว่า "baptize" ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ทำพิธีทางศาสนาคริสต์ที่เรียกว่า ศีลล้างบาป (baptism) ให้ ซึ่งจะมีการมอบชื่อใหม่ให้ด้วย ([[#d1{{ฮวอม|Dictionary.com, |2022]]}}) ดังนั้น ในที่นี้จึงหมายถึง พิธีสมโภชและตั้งนาม ดังมีตัวอย่างใน ''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4'' ([[#ท1{{ฮวอม|ทิพากรวงศฯ, |2548]]: |p=189}}) ซึ่งกล่าวถึงการรับช้างเผือกเมื่อ พ.ศ. 2406 ว่า "ครั้นเวลาบ่าย พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ มีการมหรสพทำขวัญ 3 วัน 3 คืน...จารึกชื่อในท่อนอ้อยว่า พระเสวตรสุวรรณาภาพรรณ...ประทานให้ช้างรับต่อพระหัตถ์ เสร็จ ''การสมโภช'' ตั้งชื่อแล้ว ก็แห่เข้ามาผูกยืนโรงไว้ที่ทำใหม่ สวดมนต์ทำขวัญ 3 วัน"</ref> สัตว์นั้น แล้วมอบชื่อและยศใหม่ให้แก่มัน โดยมีถ้อยคำมากมายเหลือเกิน และเขียนไว้บนอ้อยชิ้นหนึ่ง<ref>[[#จ1{{ฮวอ|หอพระสมุดวชิรญาณ|''จดหมายเหตุ เรื่อง รับพระยาเศวตกุญชรช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 2 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2355'' (2470]]: |p=30–31)}} บรรยายพิธีมอบชื่อแก่ช้างเผือกว่า "พระโหราธิบดีถวายพระฤกษ์จะได้ขนานชื่อพระยาช้างเผือก...อาลักษณลงอักษรเปน พระยาเศวตกุญชร บวรพาหนาถ...ลงในท่อนอ้อย แล้วพระหมอเถ้าจารึกเทวมนต์ลงในท่อนอ้อย ครั้นได้ฤกษ์...พระวิเชียรปรีชา ราชบัณฑิต รับเอาพานทองรองท่อนอ้อยต่อพระหมอเถ้าเข้าไปทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงรับเอาท่อนอ้อยไปพระราชทานพระยาช้างเผือกผู้ต่อพระหัตถ์"</ref> ซึ่งเจ้าช้างกลืนกินเข้าไปในทันที นี่น่าจะเป็นส่วนเดียวในพิธีที่ยังความพอใจให้แก่ช้างได้บ้าง แล้วช้างก็ได้รับการนำไปสู่เคหาสน์แห่งใหม่ และได้รับการเลี้ยงดูอยู่ที่นั่นจากบ่าวไพร่ที่คลานเข่า ผู้เฝ้าปรนเปรอมันด้วยอาหารจากจานทำด้วยเงิน
}}
 
บรรทัดที่ 84:
==บรรณานุกรม==
 
{{รออ}}
<div class="references-small" style="font-size:90%">
* {{ตรึง+อนส|จ1author=หอพระสมุดวชิรญาณ|''title=[[จดหมายเหตุ เรื่อง รับพระยาเศวตกุญชรช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 2 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2355]]''. (|year=2470). |location=พระนคร: |publisher=โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. |ref={{ฮวต|หอพระสมุดวชิรญาณ|2470}}|postscript={{วว}}(พิมพ์เนื่องในงานสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก ช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 7 เมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2470).}}
* {{ตรึง+|ท1อนส|author=ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา. (|year=2548). ''|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4''. |location=กรุงเทพฯ: |publisher=อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. {{isbn|isbn=9149528115|invalid1ref=yes{{ฮวต|ทิพากรวงศฯ|2548}}.}}
* {{ตรึง+|ป1อนส|author=ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ. (|year=2478). ''|title=[[ปฐมสมโพธิกถา]]''. |location=พระนคร: |publisher=โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร. |ref={{ฮวต|ปรมานุชิตชิโนรส|2478}}|postscript={{วว}}[พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะสิริ) กับนายฮกเส่ง จึงแย้มปิ่น พิมพ์ในงานปลงศพสนองคุณนางจันทร์ ฉิมไพบูลย์ ผู้เป็นน้าและป้า ณวัดจักรวรรดิ์ราชาวาส วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2478].}}
* {{ตรึง+|d1อว|author=Dictionary.com. (|year=2022). |title=Christian name. In ''|website=Dictionary.com Unabridged''. Retrieved 2 August |accessdate=2022 from -08-02|url=https://www.dictionary.com/browse/christian-name|ref={{ฮวต|Dictionary.com|2022}}}}
* {{ตรึง+|mwอว|author=Merriam-Webster. (|year=n.d.). |title=Bath brick. In ''|website=Merriam-Webster.com dictionary''. Retrieved 2 August |accessdate=2022 from -08-02|url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/Bath%20brick|ref={{ฮวต|Merriam-Webster|n.d.}}}}
{{จออ}}
</div>