ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิซอร์ซ:หลักเกณฑ์การตั้งชื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 22:
*** ''[[ประกาศลักษณฉ้อ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ. ๑๑๙]]''
*** ''[[พระราชบัญญัติอธิกรณประถมปาราชิก พระพุทธศักราช ๒๔๖๓]]''
* '''ชื่อยาวเกินไป'''
** กฎหมายไทยงานบางฉบับอย่างมีชื่อยาวมาก แต่ด้วยข้อจำกัดทางเทคนิค ทำให้ไม่อาจตั้งชื่อแบบนั้นได้ในวิกิซอร์ซ ในกรณีนี้ อาจย่อชื่อลง เอาแต่ท่อนสำคัญ ๆ และใช้ไปยาลน้อย ("ฯ") เช่น ''[[พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าฯ สินค้าฯ สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘]]'' ชื่อเต็มคือ ''พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าและจำหน่ายและการผ่อนผันให้จำหน่ายซึ่งสินค้าที่ผลิตหรือมีกำเนิดในสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘''
* '''อื่น ๆ'''
** '''ระบุภูมิภาค''' โดยปรกติ '''ไม่จำเป็น'''ต้องระบุภูมิภาค เช่น ''[[ประมวลกฎหมายอาญา]]'' ไม่จำต้องว่า ''ประมวลกฎหมายอาญา (ประเทศไทย)''
เส้น 39 ⟶ 41:
** กลับกัน ถ้าต้นฉบับใช้ "พ.ศ." ก็ตามนั้น ไม่ต้องเปลี่ยนมาเขียนเต็มเป็น "พุทธศักราช"
** หลักการนี้ให้ใช้แก่ศักราชอื่น ๆ และการเขียนตัวย่อตัวเต็มอื่น ๆ ด้วยโดยอนุโลม เช่น ร.ศ., ฮ.ศ., ค.ศ., จ.ศ. (ซึ่งปรากฏอยู่ในกฎหมายไทยเก่า ๆ) รวมถึงกฎหมายบางประเภทที่ใช้อักษรย่อ เช่น ''[[ประกาศ ก.ศป.ฯ กำหนดคุณสมบัติของฯ พนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔|ประกาศ ก.ศป. เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔]]''
* '''คำพิพากษา/คำวินิจฉัย/คำสั่งศาล'''
** ให้ว่า ''[[คำสั่งศาลฎีกาที่ ๔๔๙๔/๒๕๕๔]]'' หรือ ''[[คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๘๐๐/๒๕๕๔]]'' เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อก่อนเคยนิยมใช้ ''ฎีกาที่ XX/XXXX'' เฉย ๆ
** ไม่ใช้ว่า ''"คำพิพากษา'''ของ'''..."'' หรือ ''"คำสั่ง'''ของ'''..."'' เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๔๑๕/๒๕๕๓]]'' ทั้งนี้ เว้นแต่ต้นฉบับจะใช้
** ในกรณีที่ไม่ปรากฏเลขคำพิพากษา ให้ใช้เลขคดีแดง เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ในคดีหมายเลขแดงที่ ฟ. ๒๙/๒๕๕๓]]'', ''[[คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ในคดีหมายเลขแดงที่ อ. ๔๓/๒๕๕๔]]'' ฯลฯ
** ถ้าคดียังไม่จบ (ยังไม่มีเลขคดีแดง) ก็ให้ใช้เลขคดีดำแทน เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองกลาง ในคดีหมายเลขดำที่ ๖๗๑/๒๕๕๔]]''
** ย่อคำพิพากษา/คำวินิจฉัย/คำสั่ง
* '''ชื่อยาวเกินไป'''
*** ให้สร้างเป็นหน้าย่อยของงานหลัก เช่น งานหลักคือ ''[[คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๘๓/๒๕๔๖]]'' และย่อคือ ''[[คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๘๓/๒๕๔๖/ย่อ|คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๘๓/๒๕๔๖'''/ย่อ''']]''
** กฎหมายไทยบางฉบับชื่อยาวมาก แต่ด้วยข้อจำกัดทางเทคนิค ทำให้ไม่อาจตั้งชื่อแบบนั้นได้ในวิกิซอร์ซ ในกรณีนี้ อาจย่อชื่อลง เอาแต่ท่อนสำคัญ ๆ และใช้ไปยาลน้อย ("ฯ") เช่น ''[[พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าฯ สินค้าฯ สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘]]'' ชื่อเต็มคือ ''พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าและจำหน่ายและการผ่อนผันให้จำหน่ายซึ่งสินค้าที่ผลิตหรือมีกำเนิดในสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘''
*** แม้ยังไม่มีงานหลัก จะสร้างหน้าย่อยอย่างนั้นก็ได้
* '''ชื่อนิยม'''
** '''กฎหมายระหว่างประเทศ''' อาจใช้ชื่อนิยมแทนชื่อทางการ เพราะบางทีชื่อทางการของกฎหมายระหว่างประเทศอาจยาวเกินไป หรือเพราะสาเหตุอื่นก็ได้ เช่น ''[[สนธิสัญญาเบาว์ริง]]'' (ชื่อทางการคือ ''หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม''), ''[[หนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศสฯ ๑๓ กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก ๑๒๒|สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ร.ศ. ๑๒๒]]'' (ชื่อทางการคือ ''อนุสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศส แก้ไขเพิ่มเติมข้อบทแห่งสนธิสัญญาฉบับลงวันที่ ๓ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ ว่าด้วยดินแดนกับข้อตกลงอื่น ๆ ฉบับลงนาม ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก ๑๒๒'') ฯลฯ
* '''หลักการอื่น ๆ''' โปรดดู
** ''[http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general/!ut/p/c5/04_SB8K8xLLM9MSSzPy8xBz9CP0os3g_A2czQ0cTQ89ApyAnA0__EIOAQGdXAwMLE30_j_zcVP2CbEdFAIfszEk!/dl3/d3/L3dDb0EvUU5RTGtBISEvWUZSdndBISEvNl9OMEM2MUE0MUlRQlJCMElPVDBQUUNFMDQ0NQ!!/ คู่มือเบื้องต้น : การร่างกฎหมายและแบบของกฎหมาย]'' ของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งบอกว่า กฎหมายประเภทนี้ควรเขียนชื่อแบบนี้ (เช่น กฎกระทรวง, ประกาศ ฯลฯ ควรเรียงชื่อแบบนั้นแบบนี้)