ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิซอร์ซ:หลักเกณฑ์การตั้งชื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 6:
** ให้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการของงานนั้น ๆ เช่น ''[[หมายจับของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองที่ ๑/๒๕๕๐]]'' ไม่ใช่ ''หมายจับทักษิณ'' เป็นต้น
** ในกรณีที่งานมีชื่อหลายชื่อ ซึ่งน่าจะเป็นทางการหมด หรือยังถกเถียงกันอยู่ในวงการที่เกี่ยวข้อง ให้ชั่งดูว่า ชื่อไหนนิยมที่สุด หรือมีเหตุผลที่สุด แล้วใช้ชื่อนั้นตั้งเป็นชื่องาน เช่น ''ยวนพ่าย'' ยังถกกันว่าควรใช้ ''โคลงยวนพ่าย'' (ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ ''ลิลิตยวนพ่าย'' ดี ในวิกิซอร์ซได้เลือกใช้ ''[[ลิลิตยวนพ่าย]]'' เหตุผล คือ คงไว้ตามต้นฉบับที่คัดมา แต่ฉบับที่ตรวจชำระโดยราชบัณฑิตยสถาน ในอนาคตอาจสร้างแล้วใช้ชื่อว่า ''[[โคลงยวนพ่าย]]'' ก็ได้ (เหมือนเช่นวิกิซอร์ซภาษาอังกฤษที่มีไบเบิลหลาย ๆ ฉบับ ไว้ให้เทียบกันดู)
** ในกรณีที่งานมีชื่อเดียว แต่พบได้ในหลายแหล่ง และแต่ละแหล่งสะกดต่างกัน (เช่น ภิยโย-ภิญโญ, ประมวญ-ประมวล, วิกฤต-วิกฤติ ฯลฯ)
*** ถ้าสืบค้นต้นฉบับได้ อาจเลือกสะกดตามต้นฉบับ เช่น ''[[ประมวญเหตุการณ์และภาพในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎร|'''ประมวญ'''เหตุการณ์และภาพในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎร]]''
*** แต่ถ้าค้นต้นฉบับไม่ได้ ให้สะกดตามงานฉบับที่มีอยู่
*** ถ้าไม่แน่ว่าจะเชื่องานฉบับไหนดี ให้เลือกสะกดตามที่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับปัจจุบัน และเป็นคำที่ใช้ในสมัยปัจจุบัน (เช่น "ประมวญ" โบราณใช้, "ประมวล" ปัจจุบันใช้) ไว้ก่อน
* '''ระบุประเภทของงาน'''
** โดยปรกติ '''ไม่ต้อง'''ระบุประเภทของงาน เช่น