ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือสัญญากรุงเทพมหานครกับกรุงอังกริษเปนทางไมตรีค้าขายกัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 66:
 
<div id="ข้อ ๓"/>
ข้อ ๓ {{gap|0.5em}} ว่า คนซึ่งอยู่ในบังคับไทย จะไปเปนลูกจ้างอยู่กับคนอยู่ในบังคับอังกฤษ ฤาคนไทยที่มิได้เปนลูกจ้างก็ดี ทำผิดกฎหมายเมืองไทยจะหนีไปอาไศรยอยู่กับคนอยู่ในบังคับอังกฤษ ซึ่งอยู่ในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ถ้ามีพยานว่าทำผิดหนีไปอยู่กับคนในบังคับอังกฤษจริง กงสุลจะจับตัวส่งให้แก่เจ้าพนักงานฝ่ายไทย ถ้าคนอยู่ในบังคับอังกฤษที่เข้ามาตั้งบ้านเรือน แลเข้ามาอาไศรยค้าขายอยู่ในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ทำผิดหนีไปอยู่กับคนในใต้บังคับไทย ถ้ามีพยานว่าทำผิดหนีไปอยู่กับคนในบังคับไทยจริง กงสุลจะขอเอาตัว เจ้าพนักงานฝ่ายไทยจะจับตัวส่งให้ถ้าพวกจีนคนไรว่าเปนคนอยู่ในบังคับอังกฤษ ไม่มีสำคัญสิ่งไรเปนพยานว่าเปนคนอยู่ในบังคับอังกฤษ กงสุลก็ไม่รับเอาเป็นธุระ
 
<div id="ข้อ ๔"/>
ข้อ ๔ {{gap|0.5em}} ว่า คนอยู่ในบังคับอังกฤษจะมาค้าขายตามหัวเมืองชายทเลซึ่งขึ้นแก่กรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ก็ค้าขายได้โดยสดวก แต่จะอาไศรยอยู่ได้ที่เดียวก็แต่ในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ตามในจังหวัดซึ่งกำหนดไว้ในหนังสือสัญญา ประการหนึ่งคนอยู่ในบังคับอังกฤษจะมาเช่าปลูกโรงปลูกเรือนปลูกตึก แจะซื้อโรงซื้อเรือนซื้อตึก พ้นกำแพงออกไปในกำหนด ๒๐๐ เส้น คือสี่ไมล์ อังกฤษเช่าได้ แต่จะซื้อที่ซื้อไม่ได้ ถ้าอยู่ถึง ๑๐ ปีแล้วจึ่งจะซื้อได้ ถ้าอยู่ยังไม่ถึง ๑๐ ปี ท่านเสนาบดีจะโปรดให้ซื้อก็ซื้อได้ แลที่นอกกำหนด ๒๐๐ เส้นนั้น คนอยู่ในบังคับอังกฤษจะซื้อจะเช่าที่เรือนที่สวนที่ไร่ที่นา ตั้งแต่กำแพงเมืองออกไปเดินด้วยกำลังเรือแจวเรือภายทาง ๒๔ ชั่วโมง จะซื้อจะเช่าเมื่อไรก็ซื้อได้เช่าได้ แต่เมื่อคนอยู่ในบังคับอังกฤษจะซื้อที่ซื้อเรือนจะต้องบอกกงสุล ๆ จะได้บอกเจ้าพนักงานฝ่ายไทย เจ้าพนักงานกับกงสุลเห็นว่าคนที่จะซื้อที่นั้น เปนคนจะทำมาหากินโดยจริง เจ้าพนักงานกับกงสุลจะช่วยว่ากล่าวให้ซื้อตามราคาสมควร แล้วจะได้ดูแลปักที่วัดที่ทำหนังสือประทับตราเจ้าพนักงานให้ไว้เปนสำคัญ แล้วจะได้ฝากฝังเจ้าเมือกรมการให้ช่วยดูแลทำนุบำรุงด้วย แลให้ผู้ที่ไปอยู่นั้นฟังบังคับบัญชาเจ้าเมืองกรมการตามยุติธรรม ค่าธรรมเนียมที่ทำไร่ทำสวน ราษฎรบ้านนั้นเมืองนั้นต้องเสียอย่างไรก็ให้เสียตามชาวบ้านนั้นชาวเมืองนั้น ถ้าในกำหนดสามปีแล้วผู้ที่ซื้อไม่มีทุนรอนฤาแชเชือนเสียมิได้ตั้งการปลูกสร้าง เสนาบดีจะคืนเงินค่าที่ให้ จะตัดสินคืนเอาที่นั้นเสีย
 
<div id="ข้อ ๕"/>
ข้อ ๕ {{gap|0.5em}} ว่า คนอยู่ในบังคับบัญชาอังกฤษที่เข้ามาอาไศรยอยู่ ณ กรุงเทพมหานคร ต้องไปบอกแก่กงสุลให้จดชื่อไว้ ถ้าคนเหล่านี้จะออกไปทะเล ฤาจะไปเที่ยวเกินกำหนด ๒๔ ชั่วโมงตามสัญญาไว้ ที่จะให้คนในบังคับอังกฤษอยู่กงสุลจะไปขอหนังสือเบิกล่องเจ้าพนักงานฝ่ายไทยให้ไป ถ้าคนในบังคับอังกฤษจะกลับออกไปกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ถ้าขุนนางเจ้าพนักงานฝ่ายไทยบอกแก่กงสุลว่ามีเหตุควรจะห้ามมิให้ออกไป กงสุลก็จะมิให้ออกไป ถ้าคนอยู่ในบังคับอังกฤษไปเที่ยวในระหว่าง ๒๔ ชั่วโมง กงสุลจะเขียนเปนหนังสือไทยให้ไป ว่าคนนั้นชื่ออย่างนั้นรูปร่างอย่างนั้นมีธุระอย่างนั้น และจะต้องให้เจ้าพนักงานฝ่ายไทยประทับตราหนังสือให้ไปเปนสำคัญด้วย เจ้าพนักงายฝ่ายไทยดูหนังสือแล้วให้คืนหนังสือให้ปล่อยตัวไปโดยเร็ว ถ้าไม่มีหนังสือกงสุลประทับตราเจ้าพนักงานฝ่ายไทยไปสำหรับตัวสงไสยว่าเปนคนหนีก็ยึดเอาตัวไว้ แล้วให้มาบอกความแก่กงสุลให้รู้
 
<div id="ข้อ ๖"/>
ข้อ ๖ {{gap|0.5em}} ว่า คนซึ่งอยู่ในบังคับอังกฤษจะเข้ามาเที่ยว แลจะเข้ามาอาไศรยอยู่ ณ กรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ จะถือสาศนาคฤษเติน ไทยก็ไม่ห้ามปราม เมื่อจะสร้างวัดขึ้นจะทำได้ก็แต่ในที่เสนาบดีจะโปรดให้ ถ้าคนอยู่ในบังคับอังกฤษ ซึ่งจะเข้ามาอยู่ในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ จะจ้างคนซึ่งอยู่ใต้บังคับไทยมาเปนลูกจ้าง เสนาบดีฝ่ายไทยจะไม่ห้ามปราม ถ้าคนที่มีมุลนายจะมารับจ้างอยู่กับคนอยู่ในบังคับอังกฤษมุลนายไม่รู้ มุลนายจะมาเอาตัวไปก็เอาไปได้ ถ้าคนในบังคับอังกฤษไปจ้างคนในใต้บังคับไทยเปนลูกจ้าง ไม่ได้ทำสัญญากับมุลนายเขา ภายหลังถ้าเกี่ยวข้องสิ่งหนึ่งสิ่งใด เสนาบดีฝ่ายไทยไม่ชำระให้
 
<div id="ข้อ ๗"/>
ข้อ ๗ {{gap|0.5em}} ว่า กำปั่นรบจะเข้ามาทอดน่าด่านเมืองสมุทรปราการเข้ามาทอดได้ แต่จะขึ้นมา ณ กรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ไม่ได้ เมื่อกำปั่นรบชำรุดจะต้องเข้าอู่ เสนาบดีเจ้าเมืองกรมการเห็นว่าชำรุดจริงจะยอมให้เอามาเข้าอู่ ถ้าจะมีขุนนางถือหนังสือพระเจ้าแผ่นดินกรุงบริเตนให้มาด้วย กำปั่นรบเข้ามา ณ กรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ จะให้ขึ้นมาแต่ลำเดียว ต้องให้ขึ้นมาทอดอยู่ใต้ป้อมป้องปัจจามิตร ป้อมปิจปัจจนึก อย่าให้ขึ้นมาพ้นป้อมเว้นไว้แต่เสนาบดีจะโปรดให้ขึ้นมาพ้นป้อมจึ่งขึ้นมาได้ ถ้าไม่มีเรือรบอังกฤษอยู่ในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ คนอยู่ในบังคับอังกฤษจะวิวาทกันขึ้นน กกงสุลจะไประงับ ไทยจะให้ทหารไปช่วยกงสุลระงับภอระงับได้
 
<div id="ข้อ ๘"/>
ข้อ ๘ {{gap|0.5em}} ว่า ค่าธรรมเนียมปากเรือที่เคยเรียกแต่ลูกค้าอังกฤษตามสัญญาเก่าซึ่งทำไว้ในคฤษตศักราช ๑๘๒๖ ปีนั้น จะยอมเลิกเสียตั้งแต่หนังสือสัญญานี้ใช้ได้ พ้นนั้นไปจะต้องเสียแต่ภาษีสิ่งของขาเข้าขาออก สินค้าเข้าจะต้องเสียภาษี ๑๐๐ ละสาม จะเสียเปนของฤาจะเสียเปนเงินคิดราคาตามราคาท้องน้ำ สุดแต่ให้เจ้าของจะเสีย ถ้าของเสียภาษี ๑๐๐ ละสามแล้วของจำหน่ายไม่ได้จะเหลือกลับออกไปมากน้อยเท่าใด ต้องคิดภาษีสิ่งของที่เหลือคืนให้แก่เจ้าของให้ครบ ถ้าราคาสิ่งของไม่ตกลงกันต้องไปบอกกงสุล ๆ จะเรียกพ่อค้าคนหนึ่งฤาสองคน เจ้าพนักงานฝ่ายไทยก็จะเรียกพ่อค้าคนหนึ่งฤาสองคนช่วยตีราคาภอสมคววร ถ้าลูกค้าอยู่ในบังคับอังกฤษจะบันทุกเอาฝิ่นเข้ามา ณ กรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ไม่ต้องเสียภาษี แต่ต้องขายฝิ่นให้แก่เจ้าภาศี ถ้าเจ้าภาษีไม่ซื้อฝิ่นไว้ ให้บันทุกกลับออกไปไม่ต้องเสียอะไร ถ้าลูกค้าอยู่ในบังคับอังกฤษ เอาฝิ่นไปลักลอบขายทำผิดสัญญาข้อนี้ ให้ริบเอาฝิ่นไปเสียให้สิ้น แลของที่เปนสินค้าจะบันทุกออกไปนั้น ตั้งแต่ของสิ่งนั้นเกิดมาจนได้เปนสินค้าบันทุกกำปั่นออกไป ให้เสียภาษีแต่ชิ้นเดียว ของสิ่งไรที่เปนสินค้าในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ จะเรียกเปนสมพักษร ฤาจะเรียกเปนภาษีป่าภาษีในกรุงเทพ ฯกรุงเทพฯ ภาษีปากเรืออย่างไร ได้กำหนดแจ้งในพิกัดอยู่กับหนังสือสัญญาแล้ว ได้ยอมกันเปนชัดว่าของสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ต้องเสียภาษีข้างในแล้วเมื่อลงเรือไม่ต้องเสีย พวกลูกค้าอยู่ในบังคับอังกฤษจะซื้อสินค้ายอมให้ซื้อ แต่ผู้ทำผู้ปลูกแลของที่เขาขายนั้น ถ้าผู้ใดผู้หนึ่งจะซื้อยอมให้ขาย มิให้ผู้ใดผู้หนึ่งขัดขวางห้ามปรามภาษีที่กำหนดในพิกัดสัญญานี้ สินค้าที่บันทุกเรือไทยเรือจีนที่เคยเสียแลว ฝ่ายไทยจะยอมลดภาษีให้เรือไทยเรือจีนแลชาติอื่น ๆ ก็จะยอมลดให้ลูกค้าซึ่งอยู่ในบังคับอังกฤษเหมือนกัน ลูกค้าอยู่ในบังคับอังกฤษจะเข้ามาต่อเรือ ณ กรุง ฯกรุงฯ เสนาบดียอมให้ต่อแล้วก็ต่อได้ แลเข้าปลาเกลือของสามสิ่งนี้ที่กรุง ฯกรุงฯ ไม่บริบูรณ มีหมายประกาศห้ามไม่ให้ออกไปก็ได้ เงินทองแลของสำหรับตัวเข้าออกไม่ต้องเสียภาษี
 
<div id="ข้อ ๙"/>
ข้อ ๙ {{gap|0.5em}} ว่า ความในกฎหมายซึ่งติดในสัญญานี้ กงสุลกับเจ้าพนักงานฝ่ายไทยพร้อมกันจะต้องรักษา แลจะต้องบังคับให้คนทั้งปวงกระทำตามกฎหมาย เจ้าพนักงานฝ่ายไทยกับกงสุลจะคิดจัดแจงเพิ่มเติมกฎหมาย หวังจะรักษาหนังสือสัญญาให้เจริญก็ทำได้ เงินที่ปรับไหมแลของที่ริบเพราะทำผิดสัญญานี้ ต้องส่งเปนของแผ่นดินก่อน เมื่อกงสุลจะเข้ามาตั้งในกรุง ฯกรุงฯ เจ้าของเรือแลกัปตันนายเรือจะว่าด้วยการค้าขายกับเจ้าพนักงานฝ่ายไทยก็ได้
 
<div id="ข้อ ๑๐"/>