ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484 (รก.)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
{{คุณภาพเนื้อหา|100%}}
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔
{{หัวเรื่อง
|ชื่อเรื่อง= พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔
|ชื่อเรื่องย่อย=
|วิกิพีเดียชื่อเรื่อง=
|พระราชนิพนธ์=
|พระนิพนธ์=
|ผู้แต่ง=
|ผู้แต่งไม่ลิงก์= รัฐสภาไทย
|วิกิพีเดียผู้แต่ง=
|ผู้แปล=
|เรื่องก่อนหน้า=
|เรื่องถัดไป=[[พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕]]
|ก่อนหน้า=
|ถัดไป=
|หมายเหตุ=
}}
 
 
[[ไฟล์:New Seal of the Royal Command of Thailand 001.jpg|center|150px]]
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
 
{{c|{{fs|140%|พระราชบัญญัติ}}}}
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
 
{{c|{{fs|120%|คณะสงฆ์}}}}
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)
 
{{c|{{fs|120%|พุทธศักราช ๒๔๘๔}}<ref>ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๘/ตอนที่ ๕๙ ก/หน้า ๑๓๙๑ - ๑๔๑๐/๑๔ ตุลาคม ๒๔๘๔.</ref>}}
อาทิตย์ทิพอาภา
 
พล.อ.พิชเยนทรโยธิน
 
{{r|8em}}
ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔
 
เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน
 
{{c|{{fs|140%|ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล}}}}
 
{{c|{{fs|120%|คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์}}}}
โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการคณะสงฆ์ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นจึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
 
{{c|{{fs|120%|(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร }}}}
 
{{c|{{fs|120%|ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)}}}}
 
{{c|{{fs|140%|อาทิตย์ทิพอาภา}}}}
 
{{c|{{fs|140%|พล.อ.พิชเยนทรโยธิน}}}}
 
{{c|{{fs|120%|ตราไว้ ณ วันที่ ๑๔ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔}}}}
 
{{c|{{fs|120%|เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน}}}}
 
 
 
โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการคณะสงฆ์ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
 
จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
 
 
 
{{c|บททั่วไป}}
 
{{r|8em}}
 
 
บททั่วไป
 
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า "พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔"
เส้น 34 ⟶ 70:
 
{{c|หมวด ๑}}
 
{{c|สมเด็จพระสังฆราช}}
 
{{r|8em}}
 
 
สมเด็จพระสังฆราช
 
มาตรา ๕ พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช
เส้น 52 ⟶ 92:
มาตรา ๑๑ สังฆสภาประกอบด้วยสมาชิก มีจำนวนรวมกันไม่เกินสี่สิบห้ารูป คือ
 
(.) พระเถระชั้นธรรมขึ้นไป
 
(.) พระคณาจารย์เอก
 
(.) พระเปรียญเอก
 
แต่ทั้งนี้ ถ้ามีจำนวนเกินกว่าที่กำหนด ให้เป็นสมาชิกตามลำดับ(๑) (๒) (๓) และตามลำดับอาวุโส
 
 
หมวด2
 
มหาเถรสมาคม
{{c|หมวด2}}
 
{{c|มหาเถรสมาคม}}
 
{{r|8em}}
 
 
 
มาตรา ๑๒ ทุกคราวสมัยประชุมสามัญ สมเด็จพระสังฆราชทรงตั้งสมาชิกในสังฆสภา ตามมติของสังฆสภา ให้เป็นประธานสภาหนึ่งรูป เป็นรองประธานหนึ่งรูป หรือหลายรูปก็ได้
เส้น 77 ⟶ 124:
มาตรา ๑๕ สมาชิกภาพแห่งสังฆสภาสิ้นสุดลงเมื่อ
 
(.) ถึงมรณภาพ
 
(.) พ้นจากความเป็นพระภิกษุ
 
(.) ลาออก
 
(.) สังฆสภาวินิจฉัยให้ออก โดยคะแนนเสียงเกินกว่าสองในสามของสมาชิกที่มาประชุม
 
มาตรา ๑๖ ญัตติที่จะรับเข้าปรึกษาในที่ประชุมสังฆสภานั้น จะเสนอได้สามทาง คือ ทางคณะสังฆมนตรีหนึ่ง ทางกระทรวงศึกษาธิการหนึ่ง และทางสมาชิกสังฆสภาหนึ่งแต่ญัตติที่เสนอทางสมาชิกสังฆสภานั้น ต้องให้สังฆนายกรับรอง
เส้น 107 ⟶ 154:
มาตรา ๒๑ สังฆาณัติย่อมบัญญัติได้ในกรณี ดังต่อไปนี้
 
(.) กำหนดวิธีการปฏิบัติตามพระธรรมวินัย
 
(.) กิจการที่มีบทกฎหมายกำหนดว่าให้ทำเป็นสังฆาณัติ
 
มาตรา ๒๒ สังฆาณัติ กติกาสงฆ์ กฎองค์การ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช กฎกระทรวง
เส้น 119 ⟶ 166:
มาตรา ๒๓ ทัณฑกรรมที่จะบัญญัติไว้ในสังฆาณัติ เกี่ยวด้วยการปฏิบัติล่วงละเมิดพระวินัย และสังฆาณัตินั้นให้กำหนดได้เจ็ดสถานดังนี้
 
(.) ให้สึกและห้ามอุปสมบท
 
(.) ให้สึก
 
(.) ให้ปัพพาชนียกรรม
 
(.) ให้พักหรือเวนคืนตำแหน่งหน้าที่
 
(.) ให้กักบริเวณ
 
(.) ให้ทำงานภายในวัด
 
(.) ให้ทำทัณฑ์บนหรือให้ขอขมาโทษ
 
มาตรา ๒๔ เมื่อสังฆสภาได้ร่างสังฆาณัติขึ้นสำเร็จแล้ว ให้สังฆนายกนำขึ้นถวายสมเด็จพระสังฆราชเพื่อลงพระนาม และเมื่อได้ประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์แล้ว ให้ใช้บังคับได้
เส้น 147 ⟶ 194:
 
{{c|หมวด ๓}}
 
{{c|คณะสังฆมนตรี}}
 
{{r|8em}}
 
คณะสังฆมนตรี
 
 
เส้น 166 ⟶ 216:
นอกจากนี้ ความเป็นสังฆมนตรีจะสิ้นสุดลงเฉพาะรูป เมื่อ
 
(.) ถึงมรณภาพ
 
(.) พ้นจากความเป็นพระภิกษุ
 
(.) ลาออก
 
(.) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการถวายความเห็นให้ลาออก
 
มาตรา ๓๒ สมเด็จพระสังฆราชทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะทรงตรากติกาสงฆ์ ตามที่ระบุไว้ในสังฆาณัติ
เส้น 178 ⟶ 228:
มาตรา ๓๓ ให้จัดระเบียบบริหารการคณะสงฆ์ส่วนกลาง เป็นองค์การต่างๆ คือ
 
(.) องค์การปกครอง
 
(.) องค์การศึกษา
 
(.) องค์การเผยแผ่
 
(.) องค์การสาธารณูปการ
 
นอกจากนี้ จะให้มีสังฆาณัติกำหนดให้มีองค์การอื่นเพิ่มขึ้นอีกก็ได้ทุกองค์การ ต้องมีสังฆมนตรีรูปหนึ่ง เป็นผู้ว่าการบังคับบัญชารับผิดชอบ ถ้าจำเป็นจะมีสังฆมนตรีช่วยว่าการก็ได้
เส้น 200 ⟶ 250:
 
{{c|หมวด ๔}}
 
{{c|วัด}}
 
{{r|8em}}
 
 
วัด
 
มาตรา ๓๘ วัดมีสองอย่าง
 
(.) วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว
 
(.) สำนักสงฆ์
 
มาตรา ๓๙ การสร้าง การตั้ง การรวม การโอน การย้าย และการยุบเลิกวัด ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงการพระราชทานวิสุงคามสีมา ให้กระทำโดยพระบรมราชโองการ
เส้น 214 ⟶ 268:
มาตรา ๔๐ ที่วัดและที่ซึ่งขึ้นต่อวัด มีดังนี้
 
(.) ที่วัด คือที่ซึ่งตั้งวัดจนตลอดเขตวัดนั้น
 
(.) ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด
 
(.) ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัด หรือพระศาสดา
 
มาตรา ๔๑ ที่วัดและที่ธรณีสงฆ์ จะโอนกรรมสิทธิ์ได้แต่โดยพระราชบัญญัติ
เส้น 226 ⟶ 280:
มาตรา ๔๓ เจ้าอาวาสมีหน้าที่ ดังนี้
 
(.) บำรุงรักษาจัดการวัดและสมบัติของวัดให้เป็นไปโดยระเบียบเรียบร้อยตามสังฆาณัติ กติกาสงฆ์ กฎองค์การ กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบ
 
(.) ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีถิ่นที่อยู่หรือพำนักอาศัยอยู่ในวัดนั้น ปฏิบัติตามพระธรรมวินัย สังฆาณัติ กติกาสงฆ์ กฎองค์การ กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบ
 
(.) เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัย แก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
 
(.) ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล
 
มาตรา ๔๔ เจ้าอาวาสมีอำนาจ ดังนี้
 
(.) ห้ามบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ซึ่งมิได้รับอนุญาตของเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่ในวัดนั้น
 
(.) ขับไล่บรรพชิตหรือคฤหัสถ์ซึ่งไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสให้ออกจากวัดนั้น
 
(.) กระทำทัณฑกรรมแก่บรรพชิตหรือคฤหัสถ์ ที่มีถิ่นที่อยู่หรือพำนักอาศัยในวัดนั้น ให้ทำงานภายในวัด หรือให้ทำทัณฑ์บน หรือให้ขอขมาโทษ ในเมื่อบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ในวัดนั้นประพฤติผิดคำสั่งเจ้าอาวาส ซี่งได้สั่งโดยชอบด้วยพระธรรมวินัย สังฆาณัติ กติกาสงฆ์ กฎองค์การ กฎหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบ
 
มาตรา ๔๕ บรรพชิตต้องมีสังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่ง และมีถิ่นที่อยู่เป็นหลักแหล่ง
เส้น 246 ⟶ 300:
 
{{c|หมวด ๕}}
 
{{c|ศาสนสมบัติ}}
 
{{r|8em}}
 
 
ศาสนสมบัติ
 
มาตรา ๔๖ ศาสนสมบัติแบ่งออกเป็นสองประเภท
 
(.) ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ทรัพย์สินของพระศาสนา ซึ่งยังมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง
 
(.) ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ่ง
 
มาตรา ๔๗ การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติกลางให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
เส้น 264 ⟶ 322:
 
{{c|หมวด ๖}}
 
{{c|คณะวินัยธร}}
 
{{r|8em}}
 
 
คณะวินัยธร
 
มาตรา ๕๐ การพิจารณาวินิจฉัยอธิกรณ์ ให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของคณะวินัยธร
เส้น 276 ⟶ 338:
 
{{c|หมวด ๗}}
 
{{c|บทกำหนดโทษ}}
 
{{r|8em}}
 
 
บทกำหนดโทษ
 
มาตรา ๕๓ ผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติมาตรา ๒๗ มีความผิดต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสามเดือน
เส้น 284 ⟶ 350:
มาตรา ๕๔ ผู้ใด
 
(.) มิได้รับบรรพชาอุปสมบทโดยชอบด้วยพระธรรมวินัย แต่บังอาจแต่งกายเลียนแบบบรรพชิต
 
(.) หมดสิทธิ์ที่จะได้รับบรรพชาอุปสมบท แต่มารับบรรพชาอุปสมบทโดยปิดบังความจริง
 
(.) ต้องปาราชิกแล้ว ไม่สละการแต่งกายอย่างเพศบรรพชิต
 
(.) ต้องคำวินิจฉัยถึงที่สุดให้สึกแล้วไม่สึก
 
มีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
เส้น 298 ⟶ 364:
มาตรา ๕๖ ไวยาวักรผู้ใดกระทำการทุจริตต่อหน้าที่มีความผิดต้องระวางโทษฐานเจ้า พนักงานใช้อำนาจและตำแหน่งหน้าที่ในทางทุจริตตามกฎหมายลักษณะอาญา
 
 
หมวด ๘
 
{{c|หมวด ๘}}
บทเบ็ดเตล็ด
 
{{c|บทเบ็ดเตล็ด}}
 
{{r|8em}}
 
 
 
มาตรา ๕๗ พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายลักษณะอาญา
เส้น 312 ⟶ 382:
 
{{c|บทเฉพาะกาล}}
 
{{r|8em}}
 
 
 
มาตรา ๖๐ ก่อนที่จะได้ทำสังคายนาพระธรรมวินัยให้ครบถ้วน แต่อย่างช้าต้องไม่เกิดแปดปี นับแต่วันใช้พระราชบัญญัตินี้ ห้ามมิให้ออกสังฆาณัติ กติกาสงฆ์ พระบัญชา สมเด็จพระสังฆราช กฎกระทรวง หรือระเบียบใด ที่จะบังคับให้ต้องเปลี่ยนลัทธิอันได้นิยมนับถือและปฏิบัติกันมาเป็นเวลา ช้านานแล้ว
เส้น 318 ⟶ 392:
 
:ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
::พิบูลสงคราม
::นายกรัฐมนตรี
 
==เชิงอรรถ==
{{reflist}}
 
พิบูลสงคราม
 
นายกรัฐมนตรี
 
----
[[หมวดหมู่:งานที่ยังไม่ได้จัดรูปแบบ]]
{{ed}}
----
{{ข้อมูลข่าวสารของราชการ-ไทย}}
[[หมวดหมู่:แปลก พิบูลสงคราม]]