รัฐประหารในประเทศไทย
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494
รัฐประหารเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 โดยคณะทหารที่เรียกตนว่า คณะบริหารประเทศชั่วคราว ซึ่งยึดอำนาจจากรัฐบาลที่มีจอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี โดยอ้างภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ แล้วเชิญจอมพล แปลก กลับเป็นนายกรัฐมนตรีดังเดิม ทำให้เชื่อกันว่า เป็น รัฐประหารตนเอง ของจอมพล แปลก รัฐประหารครั้งนี้ทำให้จอมพล แปลก เป็นนายกรัฐมนตรีไปจนถูกจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ล้มล้างด้วยรัฐประหารใน พ.ศ. 2500

งานตามลำดับเวลา แก้ไข

การยึดอำนาจ แก้ไข

รัฐธรรมนูญ แก้ไข

การบริหารประเทศ แก้ไข

การจัดตั้งสภานิติบัญญัติ แก้ไข

นิรโทษกรรม แก้ไข

การออกกฎหมายว่าด้วยสถานฉุกเฉิน แก้ไข

การควบคุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แก้ไข

การออกกฎหมายว่าด้วยคอมมิวนิสต์ แก้ไข

 
20 กันยายน 2499 — สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ปฏิญาณตนรับตำแหน่งผู้สำเร็จราชการฯ ต่อสภาผู้แทนราษฎร ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม

การสำเร็จราชการของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ แก้ไข

การประกาศใช้ประมวลกฎหมายอาญา แก้ไข

การออกกฎหมายเกี่ยวกับกบฏ แก้ไข

การเลือกตั้ง 26 กุมภาพันธ์ 2500 แก้ไข

รัฐประหารของจอมพล สฤษดิ์ แก้ไข

งานที่เกี่ยวข้อง แก้ไข

คำปราศัยในโอกาสปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร แก้ไข

การอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร แก้ไข