หน้า:ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ ๑ (๑) - ๒๔๘๑.pdf/350

หน้านี้ได้พิสูจน์อักษรแล้ว
๓๓๖
ภญาน

7
  มาตราหนึ่ง โยนพญาณนั้น คือ ทังสองอ้างพญาณ 
คน พญาณพิสูทตัวแล้วกล่าวคดีสมอ้าง แลมีคำพญาณนั้นระบุะว่า มีผู้รู้เหนได้ยินด้วยอีกคน 
คนก็ดี ท่านว่า ให้เอาคำพญาณซึ่งระบุะอ้างต่อไปนั้นกฎเอาไว้ แล้วให้บังคับบันชา ถ้ามิควรจะสืบ อย่าให้สืบ ถ้าควรที่จะสืบ ให้สืบ ถ้าโยนพญาณนั้นกล่าวสมคำพญาณ ท่านว่า ชื่อ ชะนะสมพญาณ ถ้าโยนพญาณกล่าวคดีหมีสม อย่าให้ฟังถ้อยคำมันผู้เทจ์
8
  อนึ่ง ยลพญาณนั้น คือ วานท่านให้ไป[1] นั่งรู้เหนด้วย แลคนนั้นก็รับว่า มีผู้รู้เหนสามต่อไซ้ ท่านให้พิดเคราะหดูคำเขาทังสองนั้น ถ้าสมแล้ว ให้ฟังเอาคำพญาณนั้นได้
9
  อนึ่ง กลพญาณนั้น คือ วานท่านไปถามเปนคำนับข้างหนึ่งรับ ท่านให้พิจารณาดู ถ้าเปนทิพพญาณ อุดรพญาณ ฟังได้ ถ้าเปนอุตริพญาณ ฟังเอาหมีได้ ท่านว่า บาปบุญคุณโทษไว้แก่ผู้กล่าว
10
 ๑๐ อนึ่ง ผู้มีอรรถคดีอ้างพญาณ ๆ ให้การแลแก้ค้านเข้า

  1. ก: ท่านไปให้
ม.ธ.ก.