หน้า:โฉมหน้าศักดินาไทย (9th ed).pdf/206

หน้านี้ยังไม่ได้พิสูจน์อักษร
จิตร ภูมิศักดิ์  ๒๓๓ 
๒๕ "จารึกกฏหมายลักษณะโจร", ฉ่ำ ทองคำวรรณ อ่าน, วารสารศิลปากร ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๙๘
๒๖ "คำอ่านจารึกภาษาไทย" ของ ฉ่ำ ทองคำวรรณ, วารสารศิลปากร ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๙๗
๒๗ ประชุมกฏหมายไทยโบราณ ภาคที่ ๑, โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๘๒ หน้า ๖๖ (กฏหมายที่พิมพ์เป็ นกฏหมายจากอีสาน)
๒๘ ดูเรื่อง "กระลาโหม" ของ จิตร ภูมิศักดิ์ ในหนังสือ อักษรานุสรณ์ ฉบับต้อนรับน้องใหม่ ๒๔๙๗หน้าไม่มี เพราะหนังสือไม่ลงหน้าทั้งเล่ม
๒๙ ประชุมจารึกสยามภาค ๑, โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๗๗ หน้า ๘๑
๓๐ "กวานเจ้า" คำกวานก็คือนาย คำนี้มีใช้แม้ในภาษาลาวทางเหนือ กวานเจ้าคือประมุขใหญ่
๓๑ "กวานบ้าน" คือนายบ้าน เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกวานเจ้า ในลิลิตยวนพ่ายของไทยก็มีคำเรียกนายบ้านของไทยพายัพว่ากวานบ้าน
๓๒ E. Diguet, Etude de la langue Tai (คือ-ศึกษาภาษาตระกูลไท)
๓๓ Ch. Robequain, Le Than Hoa
๓๔ E. Lunet de la Jonquiere, Ethnographic du Tonkin septentrional (มานุษยชาติวิทยาของตังเกี๋ยส่วนเหนือ)
๓๕ หลักฐานเกี่ยวกับชุมชนไทยที่กล่าวมาทั้งหมดได้จาก "ประวัติศาสตร์กฏหมายไทย" กฏหมายที่ดินโดย ร. แลงกาต์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ ๒๔๙๑ น. ๖-๑๑
๓๖ ประมุขของชุมชนไทยต่างๆ ในดินแดนอินโดจีนที่กล่าว มีสิทธิอำนาจพอที่จะขับไล่ราษฎรออกจากที่ดินเพื่อครอบครองเสียเอง หรือเพื่อยกให้ครอบครัวใหม่ได้ด้วย-ดูหนังสือเล่มเดียวกัน หน้า ๑๐
๓๗ ไทยอาหมเข้าไปสู่อัสสัม โดยแยกพวกออกไปจากไทยใหญ่อาหมรุกเข้าไปในอัสสัมเมื่อปี ๑๗๗๑ จนถึง พ.ศ. ๒๑๙๘ กษัตริย์ไทยอาหมก็หันไปนับถือศาสนาพราหมณ์ ในที่สุดเลยถูกวัฒนธรรมอินเดียกลืนเสียทั้งชาติ รัฐไทยอาหมเพิ่งมาเสื่อมอำนาจตกอยู่ในอารักขาของพม่าเอาเมื่อกลางศตวรรษที่ ๒๓ (สมัยอยุธยาตอนกลาง) ระบบศักดินาของไทยอาหมมีกล่าวอย่างย่อๆ อยู่ใน "ประวัติศาสตร์กฏหมายไทย" กฏหมายที่ดิน ของ ร. แลงกาต์ หน้า ๖-๗