หน้า:โฉมหน้าศักดินาไทย (9th ed).pdf/207

หน้านี้ยังไม่ได้พิสูจน์อักษร
 ๒๓๔  โฉมหน้าศักดินาไทย
๓๘ อาณาจักรเขมรโบราณเคยแผ่ขึ้นไปจนถึงแคว้นลานช้าง หลักฐานที่ยังมีปรากฏก็คือศิลาจารึกประกาศตั้งโรงพยาบาล (อโรคยศาลา) ของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ แห่งเขมร (พ.ศ. ๑๗๒๔-หลัง พ.ศ. ๑๗๔๔) อยู่ ณ บ้านทรายฟองริมฝั่งโขงใต้เมืองเวียงจันทน์ตรงข้ามบ้านเวียงคุก จังหวัดหนองคายบัดนี้ ดู "กระลาโหม" ของจิตร ภูมิศักดิ์ ใน "อักษรานุสรณ์" ฉบับต้อนรับน้องใหม่ ๒๔๙๗
๓๙ La Stele du Prah Khan d' Angkor, G. Coedes, Bulletin de l' Ecole Francaise d' Extreme-Orient เล่ม ๔๑, หน้า ๒๙๕
๔๐ Le Royaume de Combodge par Maspero
๔๑ ผู้ที่ไม่เคยไปและไม่มีท่าทีว่าจะไปนครวัด หรือไปแล้วอ่านคำบรรยายภาพไม่ออก เพราะเป็นภาษาเขมรโบราณ แต่อยากจะดูหลักฐานให้มั่นใจ ก็หาดูได้จากเรื่อง "Les Bas-relief d' Angkor-Vat" ของ G. Coedes ใน Bulletin de la commission archeologique de l' Indochine เล่มประจำปี ๑๙๑๑
๔๒ Collection de texts et documents sur l' Indochine III, Inscription duc cambodge, Vol. II par G. Coedes, Hanoi 1942, p.176
๔๓ ในจารึกภาษาไทยหลักที่สองของประชุมจารึกสยามภาค ๑ โขลนลำพงหรือลำพังนี้ เป็นตำแหน่งข้าราชการ ภายหลังมาตกอยู่ในเมืองไทย เป็ นกรมพระลำพัง (เขมรเรียกพระลำพัง แล้วไทยสุโขทัยเอามาเขียนลำพง)
๔๔ ดูรายละเอียดใน Pour mieux comprendre Angkor, par G. Coedes, Paris 1947
๔๕ ดู "พิมายในด้านจารึก" ของ จิตร ภูมิศักดิ์, วงวรรณคดี ฉบับกุมภาพันธ์ ๒๔๙๖
๔๖ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่กรุงเทพฯ มีพระพุทธรูปที่ว่านี้อยู่รูปหนึ่ง ทำด้วยศิลาขนาดโตกว่าตัวจริง หน้าตาเป็นเขมรที่ไว้เปียตามคติพราหมณ์ รูปนี้ได้มาจากพิมาย ชาวบ้านเรียกกันว่าท้าวพรหมทัตนับว่าชาวบ้านไทยก็ไม่โง่พอที่จะให้ชัยวรมันหลอกว่าเป็นพระพุทธรูป
๔๗ ดูรายละเอียดใน La Stele du Prah Khan d' Angkor, G. Coedes, Bulletin de l' Ecole Francaise d' Extreme-Orient, Tome XLI, 1941 P. 255-301