ประชุม
กฎหมายประจำศก
เล่ม ๘
กฎหมาย
จ.ศ. ๑๒๓๐–๑๒๓๑–๑๒๓๒
จ.ศ. ๑๒๓๓–๑๒๓๔–๑๒๓๕–๑๒๓๖


รวบรวมโดย
นายร้อยตำรวจโท เสถียร ลายลักษณ์
แพทย์ประกาศนียบัตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนติบัณฑิตสยาม
เคยเป็นผู้สอนกฎหมายณโรงเรียนนายร้อยตำรวจ
และโรงเรียนพลตำรวจ
กับ
นายบุญเรื่อง นาคีนพคุณ
ประกาศนียบัตรครูมัธยมและเนติบัณฑิตสยาม
นายบุญธรรม ศิริฤทธิ์
เนติบัณฑิตสยาม
และ


สงวนลิขสิทธิ์
พิมพ์ครั้งแรกวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๘

คำนำ

หนังสือประชุมกฎหมายประจำศก เล่ม ๘ นี้ แบ่งออกเปน ๖ ภาค คือ ภาค ๑ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๐ (ร.ศ. ๘๗ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๑) ภาค ๒ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๑ (ร.ศ. ๘๘ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๒) ภาค ๓ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๒ (ร.ศ. ๘๙ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๓) ภาค ๔ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๓ (ร.ศ. ๙๐ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๔) ภาค ๕ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๕ (ร.ศ. ๙๒ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๖) (ในปี จ.ศ. ๑๒๓๔ ไม่ปรากฎว่ามีบทกฎหมายประกาศ) ภาค ๖ รวมกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ในปี จ.ศ. ๑๒๓๖ (ร.ศ. ๙๓ หรือ พ.ศ. ๒๔๑๗)

ที่มาแห่งหนังสือประชุมกฎหมายประจำศกเล่มนี้ คือ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑ ประจำปี จ.ศ. ๑๒๓๖ กฎหมายรัชกาลที่ ๕ ซึ่งรวบรวมโดย หลวงรัตนาญัปติ (ซึ่งภายหลังเปน พระยาไกรสีห์ (เปล่ง)) เล่ม ๑ ประกาศพระราชบัญญัติรัชกาลที่ ๔ เล่ม ๔ ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๗ พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๖

  • นายร้อยตำรวจโท เสถียร ลายลักษณ์
  • ผู้รวบรวม

สารบัญ
กฎหมาย จ.ศ. 1230 (ร.ศ. 87, พ.ศ. 2411)
กฎหมาย จ.ศ. 1231 (ร.ศ. 88, พ.ศ. 2412)
กฎหมาย จ.ศ. 1232 (ร.ศ. 89, พ.ศ. 2413)
กฎหมาย จ.ศ. 1233 (ร.ศ. 90, พ.ศ. 2414)
กฎหมาย จ.ศ. 1235 (ร.ศ. 92, พ.ศ. 2416)
กฎหมาย จ.ศ. 1236 (ร.ศ. 93, พ.ศ. 2417)

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก