หน้าหลัก
ยินดีต้อนรับสู่ วิกิซอร์ซ
ห้องสมุดเสรีที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วม
วิกิซอร์ซเป็นห้องสมุดออนไลน์ซึ่งรวบรวมสิ่งตีพิมพ์ที่เป็นสาธารณสมบัติหรืออนุญาตให้ใช้ได้ ภายใต้สัญญาอนุญาตเสรี โดยได้รับการเก็บรวบรวมและบำรุงรักษาโดยประชาคมของเรา ปัจจุบันวิกิซอร์ซมีเนื้อหาภาษาไทยทั้งหมด 5,948 หน้า ดูเพิ่มในหน้านโยบายเนื้อหาและแนะนำการใช้งานสำหรับข้อมูลในการเริ่มต้นเขียน และศาลาประชาคมสำหรับวิธีที่คุณสามารถมีส่วนร่วมได้ |
งานที่น่าสนใจ

ลักษณอาญาจีนสมัยเก่า เรื่องโดย จอร์จ เฮนรี เมสัน ภาพประกอบโดย จอห์น แดดลีย์ ไม่ปรากฏชื่อผู้แปลเป็นภาษาไทย โรงพิมพ์ไทย พิมพ์เมื่อ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454) เป็นหนังสือภาพแสดงวิธีการพิจารณาคดีในประเทศจีนสมัยเก่า
- ลักษณอาญาของจีนมีมากชนิด...แต่เปนการแปลกประหลาดร้ายกาจอยู่ ในข้อซึ่งกฎหมายห้ามไม่ให้บุทคลใส่เครื่องประดับบางอย่าง มีการประดับกายด้วยไข่มุกเปนต้น กับทั้งทรมานตอกขื่อให้เนื้อแลกระดูกข้อเท้าเจ็บป่วย บางทีถึงแก่ชีวิตันตราย โดยเหตุว่า จะซักฟอกให้สารภาพรับเปนสัตย์ แตถ้าผู้ร้ายใจแขงทนได้ ก็รอดตัว ถ้าผู้ไม่มีมีผิดทนไม่ได้ ก็ต้องจำใจรับสารภาพ...
- ในการทรมานคนโดยโทษหรือใช่โทษก็ดี เปนการผิดจากเบญจศึลข้อซึ่งห้ามไม่ให้ทรมานคนแลสัตว์ เพราะฉนั้น ในประเทศสิวิลัยซ์ทั้งหลายก็ละทิ้งการลงอาญาซึ่งเปนการทรมานกายสิ่งหนึ่งสิ่งใดชั่วเวลามากหรือน้อยทั้งหมด แลไม่มีเมืองใดเลยที่ยังคงใช้การทรมานคนหรือสัตว์ เปนสิ่งซึ่งห้ามกันขาดทีเดียวทั่วกัน...
- ในสมุดนี้ มีภาพแลหมายเหตุอาญาจีนจดไว้เมื่อครั้งร้อยปีเศษมาแล้ว บัดนี้ จีนคงยกเลิกอาญาเหล่านี้บางอย่าง แต่ยังไม่รู้แน่ว่า อย่างไหนได้ยกเลิกแล้ว...
งานแปลที่น่าสนใจ
"งานแปล:ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับสตีเวนส์และพระยาศรีวิสารวาจา" โดย เรย์มอนด์ บี. สตีเวนส์ • แปลโดย วิกิซอร์ซ • พ.ศ. 2474
ร่างรัฐธรรมนูญซึ่งที่ปรึกษาชาวต่างประเทศเสนอต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- ขอเสนอเค้าโครงระเบียบการปกครองแบบใหม่ กับทั้งคำอธิบายอย่างย่อ มาพร้อมหนังสือฉบับนี้ ตามพระราชประสงค์ของพระองค์ท่าน โดยทั่วไปแล้วโครงการนั้นเกี่ยวพันกับการเริ่มการปกครองแบบมีรัฐสภา โดยทฤษฎีพระองค์ยังทรงเป็นผู้บริหารสูงสุดและผู้ประสาทกฎหมาย ทว่า ในฐานะผู้บริหารสูงสุดนั้น พระองค์จะทรงดำเนินการผ่านอัครมหาเสนาบดีคนหนึ่งซึ่งรับผิดชอบต่อพระองค์ในการบริหารของรัฐบาล ตามโครงการแล้วอัครมหาเสนาบดีและคณะเสนาบดีจะอยู่ภายใต้อำนาจกำกับดูแลบางประการของสภานิติบัญญัติด้วย ... (อ่านต่อ)
งานที่คุณร่วมทำได้
![]() |
งานพิสูจน์อักษรประจำไตรมาส จดหมายเหตุ เรื่อง ปราบขบถเวียงจันท์ โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ |
งานใหม่อื่น ๆ
เสนาบดีมหาดไทยและนครบาล (พ.ศ. 2477)
ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 11/2557 (พ.ศ. 2557)
ผู้สร้างสรรค์: พระยาราชพินิจจัย (อุทัยวรรณ อมาตยกุล) และพระยาสุนทรเทพกิจจารักษ์ (ทอง จันทรางศุ)
มูลเหตุแห่งการสร้างวัดในประเทศสยาม (พ.ศ. 2471)ผู้สร้างสรรค์: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ
ตำนานเมือง (พ.ศ. 2481)ผู้สร้างสรรค์: ราชบัณฑิตยสถาน
มูลเหตุแห่งการสร้างวัดในประเทศสยาม (พ.ศ. 2471)ผู้สร้างสรรค์: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ
รัฐบัญญัติรัฐธรรมนูญ (ค.ศ. 1793)ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 11/2557 (พ.ศ. 2557)
ผู้สร้างสรรค์: คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2534)ผู้สร้างสรรค์: คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
คำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2519)ผู้สร้างสรรค์: คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 2 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2520 (พ.ศ. 2520)ผู้สร้างสรรค์: คณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2520)
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 (พ.ศ. 2514)ผู้สร้างสรรค์: คณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2514)
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 3 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2501 (พ.ศ. 2501)ผู้สร้างสรรค์: คณะปฏิวัติ (พ.ศ. 2501)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 (พ.ศ. 2489)ผู้สร้างสรรค์: สภาผู้แทนราษฎรไทย
รายชื่อนี้คืองานบางส่วนที่ได้เพิ่มเข้ามาใหม่ (เพิ่มรายการที่นี่)
ดูงานอื่น ๆ ที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ และ งานแปลใหม่
ดูงานอื่น ๆ ที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ และ งานแปลใหม่
การเขียนเนื้อหา
สำรวจวิกิซอร์ซ

วิกิซอร์ซให้บริการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร และยังให้บริการโครงการหลากภาษาและเนื้อหาเสรีอีกหลายโครงการด้วยกัน :
![]() |
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี |
![]() |
วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมและอรรถาภิธานเสรี |
![]() |
วิกิตำรา ตำราและคู่มือเสรี |
![]() |
วิกิคำคม แหล่งรวบรวมคำพูดเสรี |
![]() |
มีเดียวิกิ การพัฒนาซอฟต์แวร์วิกิ |
![]() |
คอมมอนส์ คลังสื่อเสรี |
![]() |
วิกิสปีชีส์ สารบบอนุกรมวิธานเสรี |
![]() |
เมทาวิกิ ศูนย์ประสานงานโครงการวิกิมีเดีย |
![]() |
วิกิสนเทศ ฐานความรู้เสรี |