ผู้สร้างสรรค์:เจ้าพระยามหาศิริธรรม (น้อยใหญ่)

มหาศิริธรรม (น้อยใหญ่), เจ้าพระยา
(พ.ศ. ?–?)
เจ้าพระยามหาศิริธรรม ชื่อตัวว่า "น้อยใหญ่"[1][2] หรือ "เมือง"[1] บ้างเขียน "น้อยเมือง"[3] เป็นต้นสกุล "โกมารกุล ณ นคร"[1][2] ไม่ทราบปีที่เกิดและเสียชีวิต เป็นบุตรของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) กับท่านผู้หญิงอิน ราชนิกุลบางช้าง[1] สมรสกับคุณหญิงเผือก ธิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)[3]

งานที่สันนิษฐานว่าสร้างสรรค์ขึ้น

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (ม.ป.ป.). บทที่ 18 พระราชวงศ์และตระกูลอันเป็นเชื้อพระวงศ์. สืบค้นจาก https://3king.lib.kmutt.ac.th/KingTarksinCD/chapter18/page31.html
  2. 2.0 2.1 คณะทำงานกลุ่มเชื้อสายเจ้าพระยานครศรีธรรมราช โกมารกุล ณ นคร, ณ นคร, จาตุรงคกุล. (ม.ป.ป.). 1-สกุล โกมารกุล ณ นคร เชื้อสายเจ้าพระยามหาศิริธรรม (น้อยใหญ่). สืบค้นจาก http://www.3sakul.com/16845021/๑-สกุล-โกมารกุล-ณ-นคร-เชื้อสาย-เจ้าพระยามหาศิริธรรม-น้อยใหญ่
  3. 3.0 3.1 ชมรมสายสกุลบุนนาค. (2548). เสนาบดีตระกูลบุนนาค. สืบค้นจาก http://www.bunnag.in.th/history6-ditbunnag2.html


 

งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก