ผู้ใช้:Ans
{{Special:PrefixIndex/{{FULLPAGENAME}}/}}
จาก พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์_พ.ศ._๒๕๓๗#มาตรา ๓๒
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ 8 ข้อ
ถ้าให้,
A = ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร B = ได้กระทำดังต่อไปนี้ 8 ข้อ
นั่นคือ,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B
จากการได้พูดคุยปรึกษากับท่านอื่นๆ ทำให้พบว่า ข้อความในมาตรา 32 นี้ สามารถตีความออกได้เป็น 3 แบบด้วยกัน.
แบบที่ 1
แก้ไขถ้าให้,
C = การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง
นั่นคือ,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ C มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B
ปัญหามีให้ต้องพิจารณาว่า การกระทำ C หรือ การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งคืออะไร. ถ้าหากพิจารณาว่า การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงการกระทำที่ไม่ขัดการแสวงหาประโยชน์ฯ หรือ การกระทำ A นั่นเอง ก็จะได้ว่า,
C = การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง = ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ฯ = A C = A
นั่นคือ,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B
สรุปได้ว่า
- ถ้าได้กระทำ A ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
- ถ้าได้กระทำ A แล้ว, และได้กระทำ B ด้วย, ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
แบบที่ 2
แก้ไขเป็นการตีความข้อความ C ตรงกันข้ามกับแบบที่ 1 โดยตีความว่า การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงการกระทำที่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ฯ หรือ การกระทำที่ตรงกันข้ามกับ A, นั่นก็จะได้ว่า,
C = การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง = การกระทำที่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ฯ = การกระทำที่ไม่ใช่ A C = การกระทำที่ไม่ใช่ A
นั่นคือ,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำที่ไม่ใช่ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B
สรุปได้ว่า
- ถ้าได้กระทำ A ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
- ถ้าไม่ได้กระทำ A, แต่ได้กระทำ B, ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
แบบที่ 3
แก้ไขเป็นการตีความว่า วรรค 2 ขยายความ วรรค 1 (โดยพิจารณา C ในลักษณะเดียวกับการตีความใน แบบที่ 1) ดังนี้,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B
โดยตีความใน วรรค 2 ว่า
ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำ B = ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ A "ที่"มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์"นั้น" "หมายถึง" การกระทำ B
จะได้ว่า,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ A มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำ A ที่มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์นั้น หมายถึง การกระทำ B
นั่นคือ
A = B
จะได้ว่า,
การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากได้กระทำ B มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
สรุปได้ว่า
- การกระทำ B ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ (โดยที่ A ในที่นี้ หมายถึง B เท่านั้น)
kodmhai.com
แก้ไขhttp://www.thethailaw.com/law/php/more1.html
ชื่อ: Anon Sricharoenchai
สวัสดีครับ, ไม่ทราบว่าตัวบท กม. ทั้งหมดใน kodmhai.com หรือ thethailaw.com นั้น สงวนลิขสิทธิ์ไหมครับ? ผมขออนุญาตคัดลอก กม. ใน kodmhai.com หรือ thethailaw.com ไปเผยแพร่ใน th.wikisource.org ภายใต้ license creative common attribution/share-alike (cc-by-sa) และ gnu free documentation license (gfdl) ได้ไหมครับ? ขอบคุณครับ, อานนท์.
ลักษณะของงานอันมีลิขสิทธิ์
แก้ไขใช้ในการศึกษา
แก้ไข> สถานศึกษาหลายแห่งก็ใช้ไลเซนต์ไม่ถูกต้องเสียด้วยซ้ำด้วยข้ออ้างที่ว่าเพื่อการศึกษาคงไม่ผิด (จริงๆ > ผิดหรือไม่อยากให้ผู้รู้มาชี้แนะเสียที) ถ้าใช้เพื่อศึกษาการทำงานของโปรแกรม เช่น เพื่อฝึกฝนการใช้โปรแกรม ก็ไม่ผิด กม. ครับ. แต่ต้องแยกแยะให้ออกระหว่าง การใช้เพื่อศึกษาการทำงานของโปรแกรม กับ การใช้เพื่อการศึกษาเฉยๆ นะครับ. ใช้เพื่อศึกษาการทำงาน กับ เพื่อการศึกษา เป็นคนละอย่างกัน, เช่น, ใช้เพื่อทำรายงานในวิชาเรียนนี่ อันนี้ไม่ใช่เพื่อศึกษาการทำงานแล้วหละครับ. 1. ใช้เพื่อศึกษาการทำงานของโปรแกรม: ไม่ผิด 2. ใช้เพื่อการศึกษาที่ไม่ใช่การศึกษาการทำงานของโปรแกรม: ผิด http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%82%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%93%E0%B9%97#.E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88_.E0.B9.96_.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.A2.E0.B8.81.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.B4.E0.B8.94.E0.B8.A5.E0.B8.B4.E0.B8.82.E0.B8.AA.E0.B8.B4.E0.B8.97.E0.B8.98.E0.B8.B4.E0.B9.8C \begin{quote} ส่วนที่ ๖ ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา ๓๒ การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ * (๑)วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร \end{quote} สังเกตว่า, การใช้เพื่อศึกษาการทำงานของโปรแกรมนั้น, ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ มากเกินสมควรด้วย. ---- อานนท์
todo
แก้ไข- http://www.rd.go.th/publish/3187.0.html
- http://www.rd.go.th/publish/10662.0.html
- http://www.rd.go.th/publish/13490.0.html
- http://www.rd.go.th/publish/22671.0.html
- http://www.rd.go.th/publish/5937.0.html
- http://kodmhai.com/m2/m2-6/m6-40-64.html <-- 48 (3) วรรคสอง พิมพ์ผิด
- 50: ให้บุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือคณะบุคคลผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินตามวิธีดังต่อไปนี้
- (2) (ข): ในกรณีเงินได้พึงประเมินที่ระบุในมาตรา 48 (3) (ก) และ(ค) ให้คำนวณหักในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
- 48 (3) (ก) คือ ดอกเบี้ย ฯลฯ
- 48 (3) อ้างถึง 40 (4) (ก) และ (ช)
- (2) (ข): ในกรณีเงินได้พึงประเมินที่ระบุในมาตรา 48 (3) (ก) และ(ค) ให้คำนวณหักในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
- 42: เงินได้พึงประเมินประเภทต่อไปนี้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
- (8) (ค): ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ได้รับดอกเบี้ยดังกล่าวในจำนวนรวมกันทั้งสิ้นไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดปีภาษีนั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด
- ถึงแม้ 42 จะยกเว้น, แต่ก็ยังถือเป็น เงินได้พึงประเมินตาม 50. เพียงแต่ว่าเป็นเงินได้พึงประเมินที่ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
- ส่วนที่ได้รับยกเว้น จึงต้องหัก ณ ที่จ่ายตาม 50 และนำส่งตาม 52, ไม่เช่นนั้น จะผิด กม., แต่ถึงไม่ทำตาม 50 และ 52 ก็ไม่มีบทลงโทษอยู่ดี.
- ประกาศอธิบดีฯ ฉบับที่ 55 กำหนดให้นำส่งเมื่อดอกเบี้ยเกิน 10,000 หรือ 20,000 บาท, แต่ไม่ได้บอกว่าต่ำกว่า 10,000 ไม่ต้องนำส่ง
- กรณีที่ตีความว่า ประกาศ #55 บอกว่า ไม่ต้องนำส่ง, ประกาศนี้จะขัด กม. แม่หรือไม่?
- มาตรา 3 ของ กม. แม่ ให้ตรากฤษฎีกาลดอัตราหรือยกเว้นได้
- ประกาศนี้เทียบเท่ากฤษฎีกา?
- 48 (3): ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีตาม (1) และ (2) ก็ได้ ...
- ความแตกต่างระหว่าง การได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณ (42) กับ จะเลือกเสีย 15% โดยไม่ต้องรวมคำนวณ?
- ยกเว้น --> บังคับว่าห้ามรวมคำนวณ แต่ที่หัก ณ ที่จ่ายไปแล้วก็เรียกคืนไม่ได้? (ยุ่งยาก เข้าใจยาก)
- ยกเว้น --> หัก ณ ที่จ่ายก็ได้คืนด้วย? (simple, more make sense)
- ความแตกต่างระหว่าง การได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณ (42) กับ จะเลือกเสีย 15% โดยไม่ต้องรวมคำนวณ?