พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ/อธิบายประกอบ

จันทรคติ ตรงกับ หมายเหตุ
ตามพงศาวดาร คำอ่าน
จ.ศ. 1042
4 12 5 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 1042 วันพุธ ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 5 ปีวอก จ.ศ. 1042 วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2223[1]
จ.ศ. 712
6 6 5 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 712 วันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จ.ศ. 712 วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893[1]
จ.ศ. 862
1 8 6 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 862 วันอาทิตย์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก จ.ศ. 862 วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2043[2] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 7 ค่ำ[2]
จ.ศ. 865
6 11 8 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 865 วันศุกร์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 8 ปีกุน จ.ศ. 865 วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2046[2] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 9 ค่ำ[2]
จ.ศ. 877
3 15 11 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 877 วันอังคาร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน จ.ศ. 877 วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2058[3] คำนวณได้เป็นวันแรม 2 ค่ำ[3]
จ.ศ. 891
1 8 12 ค่ำ ปีฉลู จ.ศ. 891 วันอาทิตย์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 12 ปี จ.ศ. 891 วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2072[3]
จ.ศ. 900
เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 900 วันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ จ.ศ. 900 วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2081[4]
จ.ศ. 907
4 4 7 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพุธ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2088[4] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 3 ค่ำ[4]
7 14 7 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันเสาร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2088[4] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 13 ค่ำ[4]
3 9 7 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2088[4] คำนวณได้เป็นวันแรม 8 ค่ำ[4]
1 14 7 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ แรม 14 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันแรม 13 ค่ำ[5]
1 4 9 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 3 ค่ำ[5]
5 15 9 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 14 ค่ำ[5]
4 4 3 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพุธ ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2088[5]
1 11 2 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 10 ค่ำ[5]
5 6 3 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพฤหัสบดี ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 5 ค่ำ[5]
1 9 3 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 8 ค่ำ[5]
3 3 4 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอังคาร ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 2 ค่ำ[5]
วัน 6 13 4 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันศุกร์ ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 12 ค่ำ[5]
2 15 4 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันจันทร์ แรม 15 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง จ.ศ. 907 วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2088[5] คำนวณได้เป็นวันแรม 14 ค่ำ[5]
จ.ศ. 910
7 5 5 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 910 วันเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 ปีวอก จ.ศ. 910 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[5] ว่า
  1. ที่จริงควรยังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 909 เพราะ ปีวอก จ.ศ. 910 เถลิงศกวันพฤหัสบดี แรม 5 ค่ำ เดือน 5
  2. ถ้ายังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 909 อยู่ จะตรงกับวันเสาร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2090 แต่คำนวณได้เป็นวันขึ้น 8 ค่ำ
  3. ถ้าเข้า ปีวอก จ.ศ. 910 แล้ว จะตรงกับวันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2091 แต่คำนวณได้เป็นวันขึ้น 4 ค่ำ
1 5 8 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 910 วันอาทิตย์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก จ.ศ. 910 วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091[6]
จ.ศ. 911
7 10 2 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 911 วันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนยี่ ปีระกา จ.ศ. 911 วันเสาร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2092[6]
จ.ศ. 912
ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 8 ปีจอ จ.ศ. 912 วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2093[6]
จ.ศ. 917
7 7 7 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 917 วันจันทร์ แรม 7 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ จ.ศ. 917 วันจันทร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2098[7] คำนวณได้เป็นวันแรม 6 ค่ำ[7]
จ.ศ. 919
1 1 4 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 919 วันอาทิตย์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง จ.ศ. 919 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[8] ว่า
  1. ที่จริงควรยังเป็น ปีมะโรง จ.ศ. 918 เพราะ ปีมะเส็ง จ.ศ. 919 เถลิงศกวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6
  2. ถ้ายังเป็น ปีมะโรง จ.ศ. 918 อยู่ จะตรงกับวันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2099 แต่คำนวณได้เป็นวันขึ้น 2 ค่ำ
  3. ถ้าเข้า ปีมะเส็ง จ.ศ. 919 แล้ว จะตรงกับวันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2100 แต่คำนวณได้เป็นวันแรม 14 ค่ำ เดือน 3
จ.ศ. 922
7 8 12 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 922 วันเสาร์ แรม 8 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก จ.ศ. 922 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2103[8] คำนวณได้เป็นวันแรม 7 ค่ำ[8]
จ.ศ. 923
7 1 9 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 923 วันเสาร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 9 ปีระกา จ.ศ. 923 วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2104[8] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ เดือน 8[8]
5 14 8 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 923 วันพฤหัสบดี แรม 14 ค่ำ เดือน 8 ปีระกา จ.ศ. 923 วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2104[8] คำนวณได้เป็นวันแรม 13 ค่ำ[8]
จ.ศ. 925
1 5 2 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 925 วันอาทิตย์ แรม 5 ค่ำ เดือนยี่ ปีกุน จ.ศ. 925 วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2106[9] คำนวณได้เป็นวันแรม 4 ค่ำ[9]
จ.ศ. 930
16 1 1 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 930 วันศุกร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะโรง จ.ศ. 930 วันศุกร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2111[10] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ เดือน 12[10]
จ.ศ. 931
1 11 9 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันอาทิตย์ แรม 11 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2112[10] คำนวณได้เป็นวันแรม 10 ค่ำ[10]
6 6 12 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2112[10] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 5 ค่ำ[10]
จ.ศ. 937
7 10 1 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน จ.ศ. 937 วันเสาร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2118[11]
จ.ศ. 943
7 9 2 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันเสาร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะเส็ง จ.ศ. 943 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[11] ว่า
  1. อาจตรงกับวันเสาร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2124 ซึ่งคำนวณได้เป็วันขึ้น 6 ค่ำ หรือ
  2. อาจตรงกับวันศุกร์ที่ 1 ซึ่งคำนวณได้เป็นวันขึ้น 13 ค่ำ
จ.ศ. 946
5 3 5 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 946 วันพฤหัสบดี แรม 3 ค่ำ เดือน 5 ปีวอก จ.ศ. 946 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[12] ว่า
  1. ที่จริงควรยังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 945 เพราะ ปีวอก จ.ศ. 946 เถลิงศกวันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 5
  2. ถ้ายังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 945 อยู่ จะตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2126
4 9 5 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 946 วันพุธ แรม 9 ค่ำ เดือน 5 ปีวอก จ.ศ. 946 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[12] ว่า
  1. ที่จริงควรยังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 945 เพราะ ปีวอก จ.ศ. 946 เถลิงศกวันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 5
  2. ถ้ายังเป็น ปีมะแม จ.ศ. 945 อยู่ จะตรงกับวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2127
4 8 10 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 946 วันพุธ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก จ.ศ. 946 วันพุธที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2127[12]
4 2 2 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 946 วันพุธ ขึ้น 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีวอก จ.ศ. 946 วันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2127[12]
จ.ศ. 947
4 7 5 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 947 วันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา จ.ศ. 947 วันพุธที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2128[13]
7 10 5 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 947 วันเสาร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา จ.ศ. 947 วันเสาร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2128[13]
5 14 5 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 947 วันพฤหัสบดี แรม 14 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา จ.ศ. 947 วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2129[13] ในวันนั้น เถลิงศกใหม่ คือ ปีจอ จ.ศ. 948 แล้ว[13]
จ.ศ. 948
2 8 12 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันจันทร์ แรม 8 ค่ำ เดือน 12 ปีจอ จ.ศ. 948 วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2129[13]
5 2 2 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันพฤหัสบดี ขึ้น 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีจอ จ.ศ. 948 วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2129[13]
จ.ศ. 949
2 14 5 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน จ.ศ. 949 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[13] ว่า
  1. ที่จริงควรยังเป็น ปีจอ จ.ศ. 948 เพราะ ปีกุน จ.ศ. 949 เถลิงศกวันศุกร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 6
  2. ถ้ายังเป็น ปีจอ จ.ศ. 948 อยู่ จะตรงกับวันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2130
6 10 6 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันศุกร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน จ.ศ. 949 วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[13] คำนวณได้เป็นวันแรม 9 ค่ำ[13]
5 1 7 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันพฤหัสบดี ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีกุน จ.ศ. 949 วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[13] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ เดือน 6[13]
5 8 7 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 7 ปีกุน จ.ศ. 949 วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[14] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 7 ค่ำ[14]
2 10 3 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 3 ปีกุน จ.ศ. 949 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2130[14]
2 10 4 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันจันทร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน จ.ศ. 949 วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2130[14]
3 10 4 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันอังคาร แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน จ.ศ. 949 วันจันทร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2130[14]
5 1 3 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 948 วันพฤหัสบดี ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 3 ปีกุน จ.ศ. 949 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2130[14] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ เดือนยี่[14]
จ.ศ. 950
5 1 3 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 950 วันจันทร์ แรม 8 ค่ำ เดือน 12 ปีชวด จ.ศ. 950 วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2131[14] คำนวณได้เป็นวันแรม 12 ค่ำ[14]
จ.ศ. 951
6 7 2 ค่ำ ปีฉลู จ.ศ. 951 วันศุกร์ แรม 7 ค่ำ เดือนยี่ ปีฉลู จ.ศ. 951 วันศุกร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2132[14]
จ.ศ. 952
1 13 8 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 952 วันอาทิตย์ แรม 13 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล จ.ศ. 952 วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133[15]
3 2 12 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 952 วันอังคาร แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีขาล จ.ศ. 952 วันจันทร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2133[15]
จ.ศ. 954
6 2 12 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันศุกร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2135[15]
7 1 1 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันเสาร์ แรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2135[15]
1 9 2 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันอาทิตย์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2135[15]
4 12 2 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันพุธ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2135[15]
2 2 2 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จ.ศ. 954 วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 213[15]
จ.ศ. 955
2 5 10 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันจันทร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 10 ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2136[16]
6 10 2 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันศุกร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันศุกร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2136[16]
1 1 4 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันอาทิตย์ แรม 1 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง จ.ศ. 955 วันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2136[16]
จ.ศ. 957
1 3 1 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 957 วันอาทิตย์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะแม จ.ศ. 957 วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2138[16]
2 13 4 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 957 วันจันทร์ แรม 13 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม จ.ศ. 957 วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2138[16]
จ.ศ. 958
3 4 6 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 958 วันอังคาร ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก จ.ศ. 958 วันอังคารที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2139[16] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 5 ค่ำ[16]
5 6 3 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 958 วันพฤหัสบดี ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 3 ปีวอก จ.ศ. 958 วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2139[16]
จ.ศ. 961
5 11 11 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 961 วันพฤหัสบดี ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน จ.ศ. 961 วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2142[16]
4 10 4 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 961 วันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน จ.ศ. 961 วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2142[16]
4 6 6 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 961 วันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน จ.ศ. 961 วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2143[17] ในวันนั้น เถลิงศกใหม่ คือ ปีชวด จ.ศ. 962 แล้ว[17]
จ.ศ. 966
5 6 2 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 966 วันพฤหัสบดี แรม 6 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จ.ศ. 966 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1[17] ว่า "5 3 2 ค่ำ" (วันพฤหัสบดี แรม 3 ค่ำ เดือนยี่) ซึ่งตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2147 แต่คำนวณได้เป็นวันแรม 2 ค่ำ

เวลา

แก้ไข
ตามพงศาวดาร คำอธิบาย
1 นาฬิกาจะรุ่ง ตรงกับ 5 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[14]
ชั้น, เช่น "รุ่งแล้ว 8 ชั้น" หมายถึง "ชั้นฉาย"[3] ซึ่ง พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ว่า เป็น "ชื่อหน่วยในมาตราวัดเวลาในสมัยโบราณ วัดโดยอาศัยการวัดเงาของตัวคนที่เกิดจากแสงแดดด้วยระยะความยาวของฝ่าเท้าของบุคคลนั้น ตอนเช้าหรือเย็นเงาจะทอดยาว และตอนเที่ยงเงาจะสั้นที่สุดหรืออาจไม่มีเลย เงาจะเปลี่ยนสั้นยาวได้จากเดือนหนึ่งไปสู่อีกเดือนหนึ่ง, เงายาว 1 ฝ่าเท้า เรียกว่า 1 ชั้นฉาย สามารถเทียบเวลาได้ ถ้าเป็นตอนเช้าเท่ากับ 11.45 นาฬิกา ถ้าเป็นตอนบ่ายเท่ากับ 12.15 นาฬิกา"[18]
เที่ยงคืนแล้ว 2 นาฬิกา 9 บาท ตรงกับ 2:54 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[12]
รุ่งแล้ว 2 นาฬิกา 8 บาท ตรงกับ 8:48 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[16]
รุ่งแล้ว 2 นาฬิกา 9 บาท ตรงกับ 8:54 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[15]
รุ่งแล้ว 3 นาฬิกา ตรงกับ 9 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[10]
รุ่งแล้ว 3 นาฬิกา 6 บาท ตรงกับ 9:36 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[16]
รุ่งแล้ว 3 นาฬิกา 9 บาท ตรงกับ 9:54 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[1]
รุ่งแล้ว 4 นาฬิกา 1 บาท ตรงกับ 10:06 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[13]
รุ่งแล้ว 4 นาฬิกา 2 บาท ตรงกับ 10:12 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[15]
รุ่งแล้ว 5 นาฬิกา 3 บาท ตรงกับ 11:18 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง[15]
อุษาโยค ใกล้รุ่ง[14]

เชิงอรรถ

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. 1.0 1.1 1.2 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 211)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 218)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 219)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 220)
  5. 5.00 5.01 5.02 5.03 5.04 5.05 5.06 5.07 5.08 5.09 5.10 5.11 5.12 5.13 5.14 5.15 5.16 5.17 5.18 5.19 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 221)
  6. 6.0 6.1 6.2 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 212)
  7. 7.0 7.1 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 213)
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 224)
  9. 9.0 9.1 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 225)
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 10.5 10.6 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 226)
  11. 11.0 11.1 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 227)
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 228)
  13. 13.00 13.01 13.02 13.03 13.04 13.05 13.06 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 229)
  14. 14.00 14.01 14.02 14.03 14.04 14.05 14.06 14.07 14.08 14.09 14.10 14.11 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 230)
  15. 15.00 15.01 15.02 15.03 15.04 15.05 15.06 15.07 15.08 15.09 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 231)
  16. 16.00 16.01 16.02 16.03 16.04 16.05 16.06 16.07 16.08 16.09 16.10 16.11 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 232)
  17. 17.0 17.1 17.2 ประชุมพงศาวดารฯ (2542, น. 233)
  18. ราชบัณฑิตยสถาน (ม.ป.ป.)

บรรณานุกรม

แก้ไข
  • ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. (2542). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9744192151.
  • ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้นจาก https://dictionary.orst.go.th/