ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประกาศให้ใช้วันที่ 1 มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2483"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ตัวเลขหน้าในราชกิจจาตกหล่น ดูต้นฉบับได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/31.PDF
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
{{หัวเรื่อง
{{คุณภาพเนื้อหา|100%}}
<!-- ข้อมูลหลัก -->
{{หัวเรื่อง2
| ชื่อ = {{PAGENAME}}
|ชื่อเรื่อง= ประกาศให้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่<br>ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๘๓
| ผู้สร้างสรรค์ =
|ชื่อเรื่องย่อย=
| บรรณาธิการ =
|วิกิพีเดียชื่อเรื่อง=
| ผู้แปล =
|พระราชนิพนธ์=
| ส่วน =
|พระนิพนธ์=
| ผู้แต่งมีส่วนร่วม =
| ก่อนหน้า =
|ผู้แต่งไม่ลิงก์= รัฐบาลไทย
| ถัดไป =
|วิกิพีเดียผู้แต่ง=
| หมายเหตุ =
|ผู้แปล=
<!-- ข้อมูลย่อย (สำหรับจัดระเบียบหรือเชื่อมโยงไปหน้าอื่น) -->
|เรื่องก่อนหน้า=
| หมวดหมู่ =
|เรื่องถัดไป=
| แก้กำกวม =
|ก่อนหน้า=
| รุ่น =
|ถัดไป=
| โครงการ =
|หมายเหตุ=
| ผู้สร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้อง =
| วิกิพีเดีย =
| คอมมอนส์ =
| หมวดหมู่คอมมอนส์ =
| วิกิคำคม =
| วิกิข่าว =
| วิกิพจนานุกรม =
| วิกิตำรา =
| วิกิห้องสมุด =
| วิกิสนเทศ =
| วิกิท่องเที่ยว =
| วิกิวิทยาลัย =
| วิกิสปีชีส์ =
| เมทา =
}}
__TOC__
{{รุ่น}}
==ประกาศ==
<br><br>
{|
|-
| [[ไฟล์:New Seal of the Royal Command of Thailand.svg|center|140px|ตราพระบรมราชโองการ]]
|-
| style="text-align:center; | {{fs|140%|ประกาศ}}
|-
| style="text-align:center; | ให้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่
|-
| {{rule|7em}}
|-
| style="text-align:center; | ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
|-
| style="text-align:center; | คณะผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์
|-
| style="text-align:center; | (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร
|-
| style="text-align:center; | ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)
|-
| style="text-align:center; | {{fs|120%|อาทิตย์ทิพอาภา}}
|-
| style="text-align:center; | {{fs|120%|พล.อ. พิชเยนทรโยธิน}}<br><br>
|-
| {{g|3em}}โดยที่จารีตประเพณีของไทยแต่โบราณมา ได้ถือวันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ เป็นการสอดคล้องต้องกับคติแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งถือฤดูเหมันต์เป็นการเริ่มต้นปี ต่อมา จารีตอันนี้ได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ ซึ่งใช้วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือนห้า เป็นวันขึ้นปีใหม่ ครั้นภายหลังเมื่อทางราชการนิยมใช้สุริยคติ จึ่งได้ถือวันที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึ้นต้นปีมาตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๓๒
|-
| {{g|3em}}แต่ในนานาอารยประเทศทั้งปวง ตลอดถึงประเทศใหญ่ ๆ ทางปลายบุรพทิศนี้ ได้นิยมใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นต้นปี การนิยมใช้วันที่ ๑ มกราคมนี้ มิได้เกี่ยวข้องกับลัทธิศาสนา จารีตประเพณี หรือการเมืองของชาติใดประเทศใด แต่เป็นการคำนวณโดยวิทยาการทางดาราศาสตร์ และนิยมใช้กันมาเป็นเวลากว่าสองพันปี เมื่อประเทศไทยได้นิยมถือสุริยคติตามอย่างนานาประเทศแล้ว ก็เป็นการสมควรอย่างยิ่งที่จะใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นต้นปีเหมือนอย่างประเทศทั้งหลาย เพราะวันที่ ๑ มกราคม ก็ใกล้เคียงกับวันแรม ๑ ค่ำ ของไทย และเป็นการใช้ฤดูหนาวเริ่มต้นปี การใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ จะเป็นการสอดคล้องต้องตามจารีตประเพณีโบราณของไทย ต้องตามคติแห่งพระบวรพุทธศาสนา และได้ระดับกับนานาอารยประเทศทั้งมวล
|-
| {{g|3em}}อนึ่ง ได้มีพระบรมราชโองการให้ตรา[[พระราชบัญญัติปีประดิทิน พุทธศักราช ๒๔๘๓]] โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตั้งแต่วันที่ ๑๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๘๓ และพระราชบัญญัตินั้นก็เป็นอันใช้ได้ตั้งแต่วันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓ เป็นอันว่าทางรัฐนั้นได้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันเริ่มปีใหม่แล้ว
|-
| {{g|3em}}จึ่งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ คณะสงฆ์ และอาณาประชาราษฎร์ทั้งมวล นิยมถือวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ ให้ถือเป็นจารีตประเพณีของชาติตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป และขอให้ปีใหม่อันเริ่มขึ้นในวันที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ นี้ จงเป็นเวลารุ่งอรุณแห่งชีวิต ให้ชาติไทยได้รับความเจริญและก้าวหน้าขึ้นสู่ความรุ่งโรจน์ใหญ่หลวง ให้อาณาประชาราษฎร์ทั้งปวงได้รับความร่มเย็นเป็นสุขทั่วกันเทอญ
|-
| {{g|3em}}ประกาศมา ณ วันที่ ๒๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓ เป็นปีที่ ๗ ในรัชชกาลปัจจุบัน
|}
 
 
{| style="text-align:center;
|-
| ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
|-
| พิบูลสงคราม
|-
| นายกรัฐมนตรี
|-
|}
 
[[ไฟล์:New Seal of the Royal Command of Thailand.svg|center|Seal of the Royal Command of Thailand|150px]]
 
 
==บรรณานุกรม==
{{c|{{fs|140%|'''ประกาศ'''}}}}
 
* "[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/A/31.PDF ประกาศให้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๘]". (๒๔๘๔, ๑ มกราคม). ''ราชกิจจานุเบกษา''. เล่ม ๕๘. หน้า ๓๑–๓๓.
 
==สัญญาอนุญาต==
{{c|{{fs|120%|'''ให้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่'''}}<ref>ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๘/หน้า ๓๑/๑ มกราคม ๒๔๘๔</ref>}}
 
{{ข้อมูลข่าวสารของราชการ-ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:พระบรมราชโองการ|ให้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๘๓]]
{{r|8em}}
[[หมวดหมู่:ประกาศในปี พ.ศ. 2483]]
 
 
{{c|ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล}}
 
 
{{c|คณะผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์}}
 
 
{{c|(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร}}
 
 
{{c|ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)}}
 
 
 
{{c|{{fs|140%|อาทิตย์ทิพอาภา}}}}
 
 
{{c|{{fs|140%|พล.อ.พิชเยนทรโยธิน}}}}
 
 
 
 
 
โดยที่จารีตประเพณีของไทยแต่โบราณมา ได้ถือวันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ เป็นการสอดคล้องต้องกับคติแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งถือฤดูเหมันต์เป็นการเริ่มต้นปี ต่อมา จารีตอันนี้ได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ ซึ่งใช้วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือนห้า เป็นวันขึ้นปีใหม่ ครั้นภายหลังเมื่อทางราชการนิยมใช้สุริยคติ จึ่งได้ถือวันที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึ้นต้นปีมาตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๓๒
 
แต่ในนานาอารยประเทศทั้งปวง ตลอดถึงประเทศใหญ่ ๆ ทางปลายบุรพทิศนี้ ได้นิยมใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นต้นปี การนิยมใช้วันที่ ๑ มกราคมนี้ มิได้เกี่ยวข้องกับลัทธิศาสนา จารีตประเพณี หรือการเมืองของชาติใดประเทศใด แต่เป็นการคำนวณโดยวิทยาการทางดาราศาสตร์ และนิยมใช้กันมาเป็นเวลากว่าสองพันปี เมื่อประเทศไทยได้นิยมถือสุริยคติตามอย่างนานาประเทศแล้ว ก็เป็นการสมควรอย่างยิ่งที่จะใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นต้นปีเหมือนอย่างประเทศทั้งหลาย เพราะวันที่ ๑ มกราคม ก็ใกล้เคียงกับวันแรม ๑ ค่ำ ของไทย และเป็นการใช้ฤดูหนาวเริ่มต้นปี การใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ จะเป็นการสอดคล้องต้องตามจารีตประเพณีโบราณของไทย ต้องตามคติแห่งพระบวรพุทธศาสนา และได้ระดับกับนานาอารยประเทศทั้งมวล
 
อนึ่ง ได้มีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติปีประดิทิน พุทธศักราช ๒๔๘๓ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาตั้งแต่วันที่ ๑๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๘๓ และพระราชบัญญัตินั้นก็เป็นอันใช้ได้ตั้งแต่วันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓ เป็นอันว่าทางรัฐนั้นได้ใช้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันเริ่มปีใหม่แล้ว
 
จึ่งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ คณะสงฆ์ และอาณาประชาราษฎร์ทั้งมวล นิยมถือวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ ให้ถือเป็นจารีตประเพณีของชาติตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป และขอให้ปีใหม่อันเริ่มขึ้นในวันที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ นี้ จงเป็นเวลารุ่งอรุณแห่งชีวิต ให้ชาติไทยได้รับความเจริญและก้าวหน้าขึ้นสู่ความรุ่งโรจน์ใหญ่หลวง ให้อาณาประชาราษฎร์ทั้งปวงได้รับความร่มเย็นเป็นสุขทั่วกันเทอญ
 
 
 
ประกาศมา ณ วันที่ ๒๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓ เป็นปีที่ ๗ ในรัชชกาลปัจจุบัน
 
 
 
 
 
: ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
 
:: {{fs|120%|พิบูลสงคราม}}
 
:: นายกรัฐมนตรี
 
 
 
 
 
== เชิงอรรถ ==
 
{{reflist}}
 
 
 
 
 
----
{{ท้ายเรื่อง}}
----
{{แม่แบบ:ข้อมูลข่าวสารของราชการ-ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:พระบรมราชโองการ]]
[[หมวดหมู่:ผู้ใช้ Aristitleism/โองการ]]
 
[[en:Proclamation on Observance of New Year's Day on 1 January, dated 24 December 1940]]