ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 36/2563"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
{{หัวเรื่อง
<!-- ข้อมูลหลัก -->
| ชื่อ = คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 36/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้กำกับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบ และพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2563
| ปี = 2563
| ผู้สร้างสรรค์ = นายกรัฐมนตรีไทย
| บรรณาธิการ =
| ผู้แปล =
บรรทัดที่ 31:
| เมทา =
}}
{{c|{{fs|140%|<pages index="คำสั่งนายกรัฐมนตรี (๒๕๖๓-๓๖).pdf" from="1" to="2"/>
=== บรรณานุกรม ===
 
ที่* ๓๖/๒๕๖๓}}}}<center>{{c|{{fs|120%อรก|คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 36/2563 เรื่อง แต่งตั้งผู้กำกับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบ และพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง}}}}< ลงวันที่ 15 ตุลาคม 2563|2563|15 ตุลาคม|137|พิเศษ 241 ง|2|3|http:/center><center></center><center>_______________<www.ratchakitcha.soc.go.th/center>DATA/PDF/2563/E/241/T_0002.PDF}}
{{c|{{fs|140%|คำสั่งนายกรัฐมนตรี
ที่ ๓๖/๒๕๖๓}}}}<center>{{c|{{fs|120%|เรื่อง แต่งตั้งกำกับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบ และพนักงานเจ้าหน้าที่ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง}}}}</center><center></center><center>_______________</center>
 
{{สาธารณสมบัติ-ไทย-ยกเว้น}}
ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตขท้องที่กรุงเทพมหานคร ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ นั้น
 
[[หมวดหมู่:คำสั่ง]]
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗ วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหก มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๕ แห่ง[[พระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548|พระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘]] นายกรัฐมนตรีจึงมีคำสั่ง ดังต่อไปนี้
 
ข้อ ๑ ให้พลเอก ประวัตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับการปฏิบัติงานของหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง พนักงานเจ้าหน้าที่และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง
 
ข้อ ๒ ให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงมีหน้าที่และอำนาจในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงตามที่กำหนดไว้ในพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้มีหน้าที่และอำนาจดังต่อไปนี้ด้วย
 
(๑) บังคับบัญชาและสั่งการส่วนราชการและข้าราชการทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดเพื่อการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง
 
(๒) ดำเนินการอื่นตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
 
ข้อ ๓ ให้ข้าราชการทหาร ข้าราชตำรวจ และข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตื้องที่ตามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
 
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งมีหน้าที่และอำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตลอดจนข้อกำหนด ประกาศ และคำสั่งที่ออกตามพระราชกำหนดดังกล่าว
 
การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงหรือผู้ซุ่งได้รับมอบหมาย กำหนด
 
ข้อ ๔ ให้ผู้กำกับการปฏิบัติงาน หัวหน้าผู้รับผิดชอบและพนักงานเจ้าหน้าที่ในการแก้ไสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีหน้าที่และอำนาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
 
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
 
{{กลุ่มข้อความด้านขวา|ข้อความ={{ubl|สั่ง ณ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๓|พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา|นายกรัฐมนตรี}}|จัด=center|ว่าง=4em}}
 
=== บรรณานุกรม ===
* [https://www.naewna.com/politic/525145 ราชกิจจาฯแพร่ประกาศ‘สถานการณ์ฉุกเฉินฯ’-มาตรา 11 ให้อำนาจทหาร-ตำรวจ], แนวหน้า, สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2563.
 
----
{{PD-TH-exempt}}