ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้า:ตำนานเงินตรา - ดำรง - ๒๔๗๔.pdf/12"

Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
Bitterschoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):เนื้อหาของหน้า (จะถูกรวม):
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
เหรียญทองคำราคาเหรียญละ ๑๐ สลึง (ตรงกับตำลึงจีน) ด้วยอีกอย่างหนึ่ง เมื่อประกาศให้ใช้เงินตราอย่างเหรียญแล้ว เงินพดด้วงก็ยังโปรดฯ อนุญาตให้ใช้อยู่ เป็นแต่ไม่ทำเพิ่มเติมขึ้น
เหรียญทองคำราคาเหรียญละ ๑๐ สลึง (ตรงกับตำลึงจีน) ด้วยอีกอย่างหนึ่ง เมื่อประกาศให้ใช้เงินตราอย่างเหรียญแล้ว เงินพดด้วงก็ยังโปรดฯ อนุญาตให้ใช้อยู่ เป็นแต่ไม่ทำเพิ่มเติมขึ้น


ต่อมาอีก ๒ ปี ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๐๕ โปรดฯ ให้โรงกระษาปณ์ทำเหรียญดีบุกขึ้นเป็นเครื่องแลกใช้แทนเบี้ยหอย เหรียญดีบุกนั้นก็มีตราพระมหามงกุฎกับฉัตรและตราช้างในวงจักร ทำนองเดียวกับตราเงินเหรียญ ทำเป็น ๒ ขนาด ขนาดใหญ่ให้เรียกว่า "อัฐ" ราคา ๘ อันเฟื้อง เท่ากับอันละ ๑๐๐ เบี้ย ขนาดเล็กให้เรียกว่า "โสฬส" ราคา ๑๖ อันเฟื้อง เท่ากับอันละ ๕๐ เบี้ย การใช้เบี้ยหอยก็เป็นอันเลิกแต่นั้นมา
ต่อมาอีก ๒ ปี ถึงปีจอ พ.ศ. ๒๔๐๕ โปรดฯ ให้โรงกระษาปณ์ทำเหรียญดีบุกขึ้นเป็นเครื่องแลกใช้แทนเบี้ยหอย เหรียญดีบุกนั้นก็มีตราพระมหามงกุฎกับฉัตรและตราช้างในวงจักร ทำนองเดียวกับตราเงินเหรียญ ทำเป็น ๒ ขนาด ขนาดใหญ่ให้เรียกว่า "อัฐ" ราคา ๘ อันเฟื้อง เท่ากับอันละ ๑๐๐ เบี้ย ขนาดเล็กให้เรียกว่า "โสฬศ" ราคา ๑๖ อันเฟื้อง เท่ากับอันละ ๕๐ เบี้ย การใช้เบี้ยหอยก็เป็นอันเลิกแต่นั้นมา


ถึงปีกุน พ.ศ. ๒๔๐๖ พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริให้สร้างเหรียญทองคำมีตราทำนองเดียวกับเงินเหรียญขึ้น สำหรับใช้เป็นเครื่องแลก ๓ ขนาด ขนาดใหญ่ให้เรียกว่า "ทศ" ราคา ๑๐ อันต่อชั่งหนึ่ง คือ อันละ ๘ บาท (เท่าราคาทองปอนด์อังกฤษในสมัยนั้น){{วว}}
ถึงปีกุน พ.ศ. ๒๔๐๖ พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริให้สร้างเหรียญทองคำมีตราทำนองเดียวกับเงินเหรียญขึ้น สำหรับใช้เป็นเครื่องแลก ๓ ขนาด ขนาดใหญ่ให้เรียกว่า "ทศ" ราคา ๑๐ อันต่อชั่งหนึ่ง คือ อันละ ๘ บาท (เท่าราคาทองปอนด์อังกฤษในสมัยนั้น){{วว}}