ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:สอดส่องหลายท้องถิ่น: สยาม/บทที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venise12mai1834 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายไปดัชนี
ป้ายระบุ: ถูกแทน
บรรทัดที่ 1:
{{หัวเรื่องงานแปล
| ชื่อ = [[../|สอดส่องหลายท้องถิ่น: สยาม]]
| ศักราช = ค.ศ.
| ปี = 24511908
| ภาษา = en
| ต้นฉบับ = Peeps at Many Lands: Siam/Chapter 1
เส้น 14 ⟶ 15:
| ผู้สร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้อง = สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช/รัชกาลที่ 5
}}
<pages index="Siam (IA siampeepsatmany00youn).pdf" include="19"/>
 
[[File:Peeps at Many Lands (1908, p 19).jpg|center|500px]]
 
{{ตรคป
|{{ก|{{พญ|A corner of the Grand Palace enclosure, Bangkok.}}}}
|{{ก|มุมหนึ่งในอาณาบริเวณพระบรมมหาราชวัง บางกอก}}
|
|ไม่ย่อหน้า=
}}
 
{{คหน}}
<pages index="Siam (IA siampeepsatmany00youn).pdf" from="15" to="18"/>
 
{{ตรคป
|{{ก|{{ขนอ|200%|{{พญ|S i a m}}}}<br>{{ขนอ|140%|{{พญ|Chapter {{ลรม|1}}}}}}<br>{{พญ|A peep into Siamese history}}}}
|{{ก|{{ขนอ|200%|ส ย า ม}}<br>{{ขนอ|140%|บทที่ 1}}<br>สอดส่องเข้าไปในประวัติศาสตร์สยาม}}
|ไม่ย่อหน้า=
}}
 
{{ตรคป
|{{พญล|You}} have doubtless already learned in your history of England that at one time this island home of ours was peopled by wild, uncivilized tribes, who were driven away into the hills of the north and the west by invaders who came to our shores from the lands on the other side of the North Sea. At different times, Jutes, Saxons, Danes, and Angles poured their warriors upon our coasts, killed the people, burnt their homes, and stole their cattle. And one of these invading tribes, the Angles, gave its name to a part of our island, which is to this day known as England — that is, Angle-land, the land of the Angles.
|ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ท่านได้ร่ำเรียนมาแล้วในวิชาประวัติศาสตร์อังกฤษของท่านว่า ครั้งหนึ่ง เกาะอันเป็นบ้านเมืองของพวกเรานี้เป็นที่อยู่ของชนเผ่าป่าเถื่อนไร้อารยธรรมซึ่งถูกเหล่าผู้รุกรานที่บุกขึ้นฝั่งของเรามาจากดินแดนอีกฟากหนึ่งของทะเลเหนืออัปเปหิมายังเนินเขาทางเหนือและตะวันตก ในช่วงเวลาต่าง ๆ กัน พวกจูต แซกเซิน เดน และแองเกิล กรีธาพลรบเข้าสู่ชายฝั่งของเรา ฆ่าฟันผู้คน เผาบ้านผลาญเรือน และช่วงชิงปศุสัตว์ และพวกแองเกิล หนึ่งในเผ่าผูกรุกรานเหล่านี้ ก็เป็นที่มาของชื่อเรียกพื้นที่ส่วนหนึ่งของเกาะเรา ซึ่งทุกวันนี้เป็นที่รู้จักกันว่า อิงแลนด์ หรือก็คือ แองเกิลแลนด์ ดินแดนของพวกแองเกิล
}}
 
{{ตรคป
|Now, in the same way, the people who live Siam at the present time are the descendants of invaders who swept into the country and drove the original inhabitants into the hills. No one is quite certain where the Siamese actually came from, but it is likely that their home was upon the mountain-slopes of Tibet. Their ancestors were a wild and vigorous race who tattooed themselves. They descended from the mountains and settled in China, where they became a peaceable people, living upon their farms, rearing their crops and tending their herds, and perhaps thinking little of war and bloodshed any more. These people are known as the Shans. Then, one day, there came down upon them a great horde of invaders, who drove most of them away from their homes. Some stayed behind as slaves; other wanderers travelled to the west and settled in the country we now call Burma; and, finally, some of the exiles pushed on to the valleys and hill-sides of Northern Siam, and these are the people whose descendants we call the Siamese. The word "Siam" is really the word "Shan," the name of the earliest settlers in the land. Amongst the first of the European nations to visit this little-known country were the Portuguese and when they came home to Europe again, and told their story of the people they had found in Further India, they both spelled and pronounced the word "Shan" as "Siam," and that is how we get the name. The Siamese never call themselves by this name. The native name for the people is "Thai," which means "free," and the country of Siam is to them always "Muang Thai" — that is, "the Land of the Free."
|ทีนี้ สยามก็เหมือนกัน ด้วยผู้คนที่อาศัยในสยาม ณ เวลานี้ก็สืบลูกสืบหลานมาจากเหล่าผู้รุกรานที่ไหลบ่าเข้ามาในแว่นแคว้นแล้วขับไล่ผู้อยู่อาศัยดั้งเดิมออกไปสู่เนินเขา ไม่มีใครมั่นใจนักว่า ชาวสยามมาจากที่ใดแน่ แต่ก็เป็นไปได้ว่า บ้านเกิดเมืองนอนของพวกเขาอยู่บนที่ลาดแถบภูเขาในทิเบต บรรพบุรุษของเขาเหล่านี้เป็นชนชาติป่าเถื่อนและแข็งแกร่งซึ่งไว้รอยสักตามร่างกาย พวกเขาลงมาจากภูเขาและตั้งรกรากในจีน ณ ที่นั้นพวกเขากลายเป็นกลุ่มคนรักสงบ หากินจากไร่นา เพาะพันธุ์พืชผล และเลี้ยงสัตว์เป็นฝูง และคงจะไม่คิดอันใดมากมายเกี่ยวกับสงครามและการนองเลือดอีก ผู้คนเหล่านี้เป็นที่รู้จักว่า ฉาน จากนั้น วันหนึ่ง ก็เกิดมีหมู่คนมากมายเข้ามารุกรานพวกฉาน และขับไล่ผู้คนส่วนใหญ่ในกลุ่มพวกเขาออกไปจากถิ่นฐานบ้านเรือน บางส่วนตกเป็นทาสอยู่ในดินแดนเดิม ส่วนที่เหลือกลายเป็นคนร่อนเร่เดินทางไปข้างตะวันตกและตั้งรกรากในแว่นแคว้นนั้น ซึ่งบัดนี้เราเรียกกันว่า พม่า และในที่สุด กลุ่มผู้พลัดถิ่นบางส่วนก็เดินหน้าสู่ฝั่งที่เป็นหุบผาและเนินขาทางภาคเหนือของสยาม และผู้คนกลุ่มนี้ก็คือที่เราเรียกลูกหลานของเขาว่า ชาวสยาม จริง ๆ แล้วคำว่า "สยาม" ก็คือคำว่า "ฉาน" อันเป็นนามของเหล่าผู้ตั้งรกรากในดินแดนนี้เป็นกลุ่มแรกสุด ชาวโปรตุเกสเป็นหนึ่งในชาติยุโรปหมู่แรกที่มาเยือนประเทศอันไม่ค่อยเป็นที่รู้จักแห่งนี้ และเมื่อชาวโปรตุเกสกลับคืนบ้านเมืองในยุโรปอีกครั้ง แล้วไปเล่าขานเรื่องราวของผู้คนที่ตนได้พบเจอในอินเดียนอกแผ่นดินใหญ่ ก็สะกดและออกเสียงคำว่า "ฉาน" เป็น "สยาม" และเราก็ได้ชื่อ "สยาม" มาเพราะเหตุนั้น ชาวสยามไม่เคยเรียกตนเองด้วยชื่อนี้ ชื่อพื้นถิ่นสำหรับเรียกขานผู้คน คือ "ไทย" ซึ่งแปลว่า "เสรี" และสำหรับพวกเขาแล้ว ประเทศสยาม ได้แก่ "เมืองไทย" หรือก็คือ "ดินแดนแห่งเสรีชน" เสมอ
}}
 
{{ตรคป
|We shall not stay here to tell the long story of how the Siamese, in the course of many hundreds of years, have fought all the people upon their borders — those who live in Cambodia, Pegu, Annam, and Burma. This history is full of curious stories of brave and cruel men, two of whom deserve just a word or two here.
|เราจะไม่ร่ำไรอยู่ตรงนี้เพื่อบอกเล่าเรื่องราวยืดยาวว่า ในการสู้รบกับกลุ่มคนทั้งหลายในเขตแดนของตน (อันได้แก่ บรรดาผู้อาศัยในกัมพูชา พะโค อานัม และพม่า) นั้น ชาวสยามเขาทำกันอย่างไรในห้วงหลายร้อยปี ประวัติศาสตร์ช่วงนี้มากด้วยเรื่องราวพิสดารของคนกล้าหาญและเหี้ยมโหด ซึ่งสองคนในกลุ่มนี้มีค่าให้พูดถึง ณ ที่นี้เพียงคำสองคำ
}}
 
{{ตรคป
|About the time when Charles II. was reigning in England, a Greek named Constantine Phaulkon arrived in Siam. He had been wrecked, together with a number of Siamese officials, upon the coast of India, and they had invited him to visit their country. He accepted the invitation, and they introduced him to the King. Phaulkon was a very clever man, and he became the chief friend and adviser of the Sovereign. He built a fort and a palace, and round the town that was then the capital he erected a wall, which was strengthened at intervals by small towers. The ruins of of the palace built by this Greek are still to be seen in the old city. Phaulkon grew so powerful that the Siamese princes and nobles got jealous, and when the King became sick, so that he could no longer hold the reins of power, the angry princes and their friends made up their minds to get rid of the King's foreign favourite. One dark night Phaulkon was summoned to attend a meeting of the chief men of the country. He hurried to the palace, little thinking what was in store for him. On his arrival he was seized and thrown into prison, and finally he was tortured to death.
|ชาวกรีกนาม คอนสแตนติน ฟอลคอน เข้ามาถึงสยามในราวยุคเดียวกับที่ชาลส์ที่ 2 ครองราชย์ในอังกฤษ ฟอลคอน กับข้าหลวงสยามจำนวนหนึ่ง ผจญเหตุเรืออับปางอยู่บนชายฝั่งอินเดีย และข้าหลวงสยามเชื้อเชิญฟอลคอนให้แวะมาประเทศของพวกตนบ้าง ฟอลคอนรับคำเชิญ และข้าหลวงสยามก็แนะนำเขาต่อพระเจ้าแผ่นดิน ฟอลคอนเป็นคนหลักแหลมยิ่ง และได้กลายเป็นพระสหายและที่ปรึกษาคนสำคัญขององค์กษัตริย์ เขาสร้างป้อมและวัง ทั้งยังก่อกำแพงโดยมีหอคอยขนาดย่อมเสริมอยู่เป็นช่วง ๆ รอบเมืองอันเป็นราชธานีในครั้งนั้น ซากวังที่ชาวกรีกผู้นี้สร้างขึ้นยังมีให้เห็นอยู่ในนครเก่า ฟอลคอนเริ่มมีอำนาจมากจนเจ้าชายและขุนนางสยามเกิดริษยา ครั้นเมื่อพระเจ้าแผ่นดินประชวรลงจนไม่อาจทรงกุมบังเหียนแห่งอำนาจได้อีกต่อไป เจ้าชายที่ไม่พอพระทัย พร้อมด้วยพระสหาย ก็ตกลงกันจะกำจัดชาวต่างชาติคนโปรดของพระเจ้าแผ่นดินผู้นี้เสีย คืนมืดมิดคืนหนึ่ง ฟอลคอนถูกเรียกไปร่วมประชุมบุคคลสำคัญของบ้านเมือง เขาก็รุดไปวังโดยไม่ทันคิดว่า สิ่งใดรอคอยเขาอยู่ เมื่อเขามาถึง เขาก็ถูกจับกุมและโยนใส่คุก สุดท้ายแล้ว เขาถูกทรมานจนตาย
}}
 
{{ตรคป
|Now, about a hundred years later, at a time when George III. was on the throne of England, and when we were fighting the American colonists because they would not pay the taxes we tried to impose upon them, another foreigner rose to great power in Siam. This foreigner was a Chinaman, named Phya Tak. The Burmese had invaded Siam, and had done a great deal of damage. So Phya Tak got together an army, composed chiefly of robbers and outlaws, and with these fierce soldiers he drove all the Burmese away. When he had achieved this great victory, he came to Bangkok, and caused himself to be crowned King of the country; and ever since his day Bangkok has been the capital of Siam. Phya Tak did not reign very long, for after a time he became mad. He fled to a monastery and donned the robes of a priest. But this did not help him very much, for the man who had been his chief friend and general murdered the mad King and reigned in his stead. The usurper assumed the crown in 1782, and the Sovereign who now rules over the country is his great-grandson. The present King's full name and title is His Majesty Phrabat Somdetch Phra Paramindr Maha Chula Lon Kawn Phra Chula Chom Klao Chao Yu Hua. He became King when he was not quite seventeen years of age, and his health at that time was so delicate that at first it was feared he would not live. However, on the day that he was crowned it rained very heavily, and then all his subjects felt very happy indeed; for if it rains when the King is crowned, then will he certainly live for many years. And so it has happened, for he is still alive, having reigned now about twenty-nine years.
|ทีนี้ สักร้อยปีให้หลังได้ อันตรงกับสมัยซึ่งจอร์จที่ 3 เสวยราชย์ในอังกฤษ และเป็นสมัยที่พวกเรากำลังรบรากับชาวอมริกันผู้อยู่ในอาณานิคม เพราะเขาไม่ยอมจ่ายภาษีที่เราเพียรพยามกำหนดให้เขานั้น ก็เกิดมีชาวต่างชาติอีกผู้หนึ่งก้าวขึ้นสู่อำนาจอันยิ่งใหญ่ในสยาม ชาวต่างชาติผู้นี้เป็นคนจีนนาม พญาตาก ชาวพม่าได้รุกรานสยามและสร้างความเสียหายใหญ่หลวงให้ ฉะนั้น พญาตากจึงรวบรวมกองทัพซึ่งหลัก ๆ แล้วประกอบด้วยโจรผู้ร้าย แล้วนำกองทหารอันดุร้ายนี้มาขับไล่ชาวพม่าออกไปสิ้น เมื่อพญาตากได้ชัยชนะอย่างยิ่งใหญ่ในครั้งนี้แล้ว เขาก็มาบางกอก และจัดให้ตนได้ครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินของประเทศ และบางกอกก็กลายเป็นราชธานีของสยามมาตั้งแต่ยุคของคนผู้นี้ พญาตากมิได้ครองราชย์นานนัก เพราะหลังจากนั้นระยะหนึ่ง เขากลายเป็นบ้า เขาหนีไปอยู่สำนักสงฆ์แล้วนุ่งห่มจีวรนักบวช แต่ก็ไม่เป็นประโยชน์ต่อเขามากนัก เพราะชายที่เคยเป็นเพื่อนและนายทหารคนสำคัญของเขา จับพระเจ้าแผ่นดินผู้มีสติวิปลาสนี้ฆ่าเสีย แล้วขึ้นครองราชย์แทน คนผู้ยึดอำนาจนี้ได้ขึ้นเสวยราชย์ในปี 1782 และองค์กษัตริย์ผู้ทรงปกครองประเทศอยู่ในเวลานี้ทรงเป็นเหลนของเขา พระนามและพระยศเต็มของพระเจ้าแผ่นดินองค์ปัจจุบัน คือ พระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินในยามที่มีพระชนม์ไม่เต็ม 7 ชันษา และพระพลานามัยในเวลานั้นก็เปราะบางมากถึงขั้นที่ทีแรกหวาดเกรงกันว่า จะไม่ทรงอยู่รอดได้ ทว่า ในวันที่เสด็จขึ้นครองราชย์นั้น ฝนตกหนักหนา และเหตุฉะนั้น เหล่าพสกนิกรของพระองค์จึงรู้สึกยินดีปรีดากันยิ่งนัก เพราะหากฝนตกตอนพระเจ้าแผ่นดินขึ้นเสวยราชย์แล้ว พระองค์จะทรงดำรงพระชนมชีพได้หลายปีเป็นแน่ และก็เป็นจริงดังนั้น เพราะพระองค์ก็ยังทรงพระชนม์อยู่ หลังจากเสวยราชย์มาจนบัดนี้ก็ราว 29 ปีแล้ว
}}