ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานแปล:สอดส่องหลายท้องถิ่น: สยาม/บทที่ 17"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venise12mai1834 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Asembleo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายไปเนมสเปซหน้า
 
บรรทัดที่ 6:
| ผู้สร้างสรรค์ = เออร์เนสต์ ยัง
| บรรณาธิการ =
| ส่วน = บทที่ 17 ช้างเผือก
| ผู้มีส่วนร่วม =
| ก่อนหน้า = [[../บทที่ 16/]]
บรรทัดที่ 14:
}}
__NOTOC__
<pages index="Siam (IA siampeepsatmany00youn).pdf" from="109" to="112"/>
{{ตรคป
|{{ก|{{ขนอ|140%|{{พญ|Chapter {{roman|17}}}}}}<br>{{พญ|White Elephants}}}}
|{{ก|{{ขนอ|140%|บทที่ 17}}<br>ช้างเผือก}}
|ไม่ย่อหน้า=
}}
 
{{ตรคป
|{{พญล|Siam}} has been called the "Land of the White Elephant,{{ตตฉ|'|"}} and no account of the country would be complete which failed to take notice of these peculiar animals. The national flag is a white elephant on a scarlet ground; the mercantile flag is a white elephant on a blue ground; and on every temple and official building this wonderful creature is fashioned in stone, wood, and plaster.
|สยามได้รับการเรียกขานว่า "ดินแดนช้างเผือก" และการเล่าถึงประเทศดังกล่าวโดยไม่มุ่งความสนใจไปที่เจ้าสัตว์พิลึกเหล่านี้ คงจะเป็นเรื่องเล่าที่ไม่สมบูรณ์ ช้างเผือกมีอยู่บนพื้นสีชาดในธงชาติ<ref>ดู ''{{ตลล|ส-ร1|รูปที่ 1|ร1}}''</ref> ธงทางการค้าก็มีช้างเผือกอยู่บนพื้นสีฟ้า<ref>ดู ''{{ตลล|ส-ร2|รูปที่ 2|ร2}}''</ref> และตามวัดวากับอาคารราชการทุกแห่งก็มีสัตว์อันชวนอัศจรรย์ใจนี้ปรากฏเป็นรูปเป็นร่างอยู่ในศิลา ไม้ และปูน
}}
 
{{ตรคป
|In former days the King did not feel himself fully a king unless he possessed a white elephant, and he never hesitated about undertaking a war in order to obtain one of these rare animals. There is a story that Gautama was once a white elephant, and that his mother, in a dream, met him in heaven in that shape. Another legend says that now and again in the world's history a monarch appears who conquers and rules every nation under the sun. This monarch is known by certain signs, and by the possession of certain objects. Of seven particular things that he owns, a white elephant is one, and without a white elephant he could not become king of the world. Then many of the Siamese believe that the animal is inhabited by the soul of some great man of the past, or by that of someone yet unborn, who will in due time be a person of great distinction.
|ในกาลก่อน พระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงรู้สึกว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินอย่างเต็มที่ จนกว่าจะทรงมีช้างเผือกอยู่ในครอบครอง และพระองค์ไม่ทรงรีรอที่จะก่อสงครามเพื่อให้ได้สัตว์หายากเหล่านี้มาสักตัว มีเรื่องหนึ่งเล่าว่า โคตมะ<ref>คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งผนวชแล้วเป็นที่รู้จักว่า พระโคตมพุทธเจ้า</ref> ทรงเคยเป็นช้างเผือก และพระมารดา<ref>คือ พระนางมายา (สิริมหามายา)</ref> ของโคตมะทรงฝันว่า ได้พบโคตมะในร่างนั้นในสรวงสวรรค์<ref>วรรณกรรมศาสนาพุทธมักระบุว่า พระนางมายาทรงฝันถึงช้างเผือก แล้วจึงทรงครรภ์เจ้าชายสิทธัตถะ เช่น ''ปฐมสมโพธิกถา'' ({{ฮวอม|ปรมานุชิตชิโนรส|2478|p=47–48}}) ว่า "ในเพลาราตรีปัจจุสสมัย ทรงพระสุบินนิมิตต์ว่า...มีเศวตหัตถีช้างหนึ่ง...ลงมาจากกาญจนบรรพ...ชูซึ่งงวงอันจับบุณฑริกปทุมชาติสีขาวพึ่งบานใหม่มีเสาวคนธ์หอมฟุ้งตระหลบ แล้วร้องโกญจนาทเข้ามาภายในกนกวิมาน แล้วกระทำประทักษิณพระองค์อันบันทมถ้วน 3 รอบ แล้วเหมือนดุจเข้าไปในอุทรประเทศฝ่ายทักษิณปรัศว์แห่งพระราชเทวี พอบันทมตื่นขึ้น...พระมหาสัตว์เสด็จลงสู่ปฏิสนธิ"</ref> อีกตำนานหนึ่งว่า ในประวัติศาสตร์โลกจะบังเกิดราชาผู้พิชิตและครอบครองชาติทั้งหลายภายใต้ดวงตะวันอยู่เป็นระยะ ๆ ราชาเช่นนี้จะบ่งชี้ได้ด้วยสัญลักษณ์บางประการและด้วยการครอบครองวัตถุบางประการ ในบรรดาสิ่งจำเพาะเจ็ดสิ่งที่ราชาเป็นเจ้าของนั้น มีช้างเผือกเป็นรายการหนึ่ง และหากไร้ซึ่งช้างเผือกแล้ว ราชาจะไม่อาจครองโลกได้เลย อนึ่ง ชาวสยามหลายคนเชื่อว่า เจ้าสัตว์นี้เป็นที่สิงสถิตแห่งวิญญาณของมหาบุรุษในอดีตบางคน หรือของบางคนซึ่งยังไม่ถือกำเนิด แต่จะได้มาบังเกิดเป็นผู้ยิ่งบารมีในเวลาที่เหมาะสม
}}
 
{{ตรคป
|In former years no subject was allowed to keep a white elephant. If by chance he found one, he hastened to present it to the King. If he dared to try to keep it for himself, the King made war upon him and took it away by force.
|ในสมัยก่อน มีการห้ามพสกนิกรเก็บรักษาช้างเผือกเอาไว้ หากเผอิญพบเข้าตัวหนึ่ง ก็ต้องเร่งนำมาถวายพระเจ้าแผ่นดิน ถ้ากล้าลองเก็บไว้กับตน พระเจ้าแผ่นดินจะทรงเปิดศึกกับมันผู้นั้น แล้วใช้กำลังช่วงชิงเอาช้างไป
}}
 
{{ตรคป
|Strictly speaking, there is no such thing as a white elephant. The animal is not really white, but only a little lighter in colour than the ordinary elephant. Occasionally it is of the colour of dirty bath brick, and it may have a few white hairs on its tail or its head.
|พูดกันให้ชัดแล้ว สัตว์อย่างช้างสีเผือกนั้นไม่มีอยู่จริง เจ้าสัตว์นี้หาได้มีสีเผือกผ่องแท้ ๆ ไม่ เพียงแต่มีสีอ่อนกว่าช้างทั่วไปสักหน่อย บางทีก็มีสีบาทบริก<ref>{{ฮวอ|Merriam-Webster|n.d.}} ว่า บาทบริก คือ อิฐที่ไม่เผา ทำจากวัสดุเนื้อซิลิกา ใช้ทำความสะอาดหรือขัดเงาโลหะ ดู ''{{ตลล|ส-ร3|รูปที่ 3|ร3}}''</ref> ขุ่น ๆ และบ้างก็มีขนสีขาวที่หางและหัวเล็กน้อย
}}
 
{{ตรคป
|The news of the discovery of a white elephant always produced great joy in the people and the King. The King sent a body of nobles and princes to the place where the animal had been found, and where he was tethered by silken cords. The ambassadors guarded the quadruped while professional elephant-tamers taught it how to behave in the presence of men and in the streets of a town. People went from all parts of the country to visit it and take it presents.
|ข่าวการพบช้างเผือกก่อให้เกิดความยินดีอย่างใหญ่หลวงแก่ปวงชนและพระเจ้าแผ่นดินเสมอ พระเจ้าแผ่นดินทรงส่งคณะขุนนางและเจ้าชายไปยังสถานที่ซึ่งพบสัตว์นั้น และ ณ ที่นั้น ช้างจะถูกล่ามไว้ด้วยเชือกเส้นไหม คณะผู้แทนพระองค์จะระวังรักษาสัตว์สี่เท้าตัวนี้ไว้ระหว่างที่หมอช้างมืออาชีพสอนให้มันรู้จักประพฤติตนเมื่ออยู่ต่อหน้าผู้คนและในท้องถนนของเมือง ฝูงชนทั่วทุกสารทิศในแว่นแคว้นจะพากันมาชมช้างและนำของรับขวัญมาให้
}}
 
{{ตรคป
|Meanwhile, in the capital, a palace was rapidly erected for the sublime animal. When the palace was finished and the taming of the elephant completed, a stately procession set out to meet it and bring it home. The King headed the procession, and when he met the elephant he knelt before it and gave it presents, after which he turned round and led the way back to the capital. In the elephant's new residence there was a wardrobe for his clothes, and covers of velvet and silk embroidered with gold and jewels. On his head was fastened a gold plate bearing his name and titles. He had a troupe of slaves and a party of priests, an orchestra of musicians, and a number of dancing-girls, all specially set apart for his instruction and amusement. When the elephant wanted to sleep, the priests chanted slumber-songs; when he looked lively and wakeful, the dancing-girls sang and danced to him. When he was hungry, he was fed with the finest fruits and vegetables. As a rule this life of laziness and luxury soon brought about his death.
|ขณะเดียวกัน ในราชธานี จะมีการสร้างราชวังขึ้นอย่างฉับไวให้แก่เจ้าสัตว์สูงส่งนั้น ครั้นราชวังแล้วสิ้น และการฝึกช้างให้เชื่องแล้วเสร็จ กระบวนเสด็จจะออกไปพบช้างและนำมันกลับนิวาสสถาน พระเจ้าแผ่นดินจะทรงเป็นประธานในกระบวน และเมื่อทรงพบช้างแล้ว จะทรงคุกเข่าต่อหน้าช้าง และประทานของรับขวัญแก่มัน จากนั้น จะทรงหันกลับและนำขบวนหวนคืนสู่ราชธานี ณ ที่พำนักใหม่ของช้าง จะมีตู้บรรจุเครื่องแต่งกาย พร้อมผ้าคลุมทำจากกำมะหยี่และผืนไหม ถักทอไปด้วยสุวรรณและอัญมณี ที่ศีรษะช้างจะมีแผ่นทองจารึกนามและยศติดอยู่ ช้างยังมีข้าทาสกลุ่มหนึ่ง กับนักบวชคณะหนึ่ง นักดนตรีวงหนึ่ง รวมถึงนางรำจำนวนหนึ่ง ทั้งหมดแยกไว้เป็นพิเศษเพื่อสนองคำบัญชาและความบันเทิงของช้าง ยามใดที่ช้างใคร่นอน นักบวชจะร้องเพลงกล่อมนอน<ref>มักแต่งเป็นฉันท์ และปรากฏชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น ฉันท์กล่อมช้าง ฉันท์ดุษฎีสังเวย ฯลฯ</ref> ยามใดที่ช้างดูตื่นตัวและกระปรี้กระเปร่า เหล่านางรำจะร้องรำให้ช้างชม ยามใดที่ช้างหิว จะมีการนำพืชผักผลไม้ชั้นยอดมาป้อนให้ ก็เป็นธรรมดาที่ชีวิตแบบเกียจคร้านและฟุ่มเฟือยเช่นนี้จะนำพามฤตยูมาสู่ช้างในไม่ช้า
}}
 
{{ตรคป
|Only about thirty years ago, a party of hunters who were looking for white elephants saw in the distance an elephant of excellent shape and size, but of no particular colour. On examining it a little closer, they fancied that it might be one of that rare kind for which they were seeking. They took him away and washed the mud off him, and then, to their intense joy, they found that not only was he light in colour, but that on his back there were a few hairs that were positively white. The country went wild with joy. Bangkok was decorated with flags, and illuminated at night. All the place was gay with banners, lights, and music. The King went to meet the animal, and the priests read a long and flattering address to it.
|เพิ่งจะสัก 30 ปีที่แล้วนี้เองที่นักล่ากลุ่มหนึ่งได้เห็นช้างซึ่งเลิศทั้งรูปร่างและขนาดอยู่ลิบ ๆ ในระหว่างออกหาช้างเผือก แต่ช้างนั้นไร้สีใดอย่างเจาะจง พอเพ่งพิศใกล้ขึ้นอีกนิด คนเหล่านั้นก็หลงคิดไปว่า ช้างนี้อาจเป็นพันธุ์หายากที่พวกตนกำลังเสาะหาอยู่ จึงจับช้างนั้นไป และชำระโคลนไคลออก และแล้ว ก็ต้องดีใจกันยกใหญ่ ด้วยพบว่า ใช่แต่ช้างจะมีสีอ่อน แต่ที่หลังมันยังมีขนหน่อยหนึ่งซึ่งมีสีขาวชัดเจน ทั้งประเทศจึงแตกตื่นด้วยความยินดี ในบางกอกมีการประดับธงและติดประทีปยามค่ำ ทุกที่ทุกสถานล้วนเบิกบานด้วยทิวธง แสงไฟ และเสียงเพลง พระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปพบสัตว์นั้น และนักบวชโอมอ่านถ้อยคำเยินยอยืดยาวให้มันฟัง
}}
 
===17h===
 
{{ตรคป
|The priests then baptized the animal and gave him his new name and titles, which were very numerous, and which were written on a piece of sugar-cane; this the elephant promptly swallowed. It was probably the only part of the ceremony that gave him any pleasure. He was taken to his new apartment, and there fed by kneeling servants, who offered him food on dishes made of silver.
|ครั้นแล้ว นักบวชก็สมโภช<ref>คำว่า "baptize" ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ทำพิธีทางศาสนาคริสต์ที่เรียกว่า ศีลล้างบาป (baptism) ให้ ซึ่งจะมีการมอบชื่อใหม่ให้ด้วย ({{ฮวอม|Dictionary.com|2022}}) ดังนั้น ในที่นี้จึงหมายถึง พิธีสมโภชและตั้งนาม ดังมีตัวอย่างใน ''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4'' ({{ฮวอม|ทิพากรวงศฯ|2548|p=189}}) ซึ่งกล่าวถึงการรับช้างเผือกเมื่อ พ.ศ. 2406 ว่า "ครั้นเวลาบ่าย พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ มีการมหรสพทำขวัญ 3 วัน 3 คืน...จารึกชื่อในท่อนอ้อยว่า พระเสวตรสุวรรณาภาพรรณ...ประทานให้ช้างรับต่อพระหัตถ์ เสร็จ ''การสมโภช'' ตั้งชื่อแล้ว ก็แห่เข้ามาผูกยืนโรงไว้ที่ทำใหม่ สวดมนต์ทำขวัญ 3 วัน"</ref> สัตว์นั้น แล้วมอบชื่อและยศใหม่ให้แก่มัน โดยมีถ้อยคำมากมายเหลือเกิน และเขียนไว้บนอ้อยชิ้นหนึ่ง<ref>{{ฮวอ|หอพระสมุดวชิรญาณ|2470|p=30–31}} บรรยายพิธีมอบชื่อแก่ช้างเผือกว่า "พระโหราธิบดีถวายพระฤกษ์จะได้ขนานชื่อพระยาช้างเผือก...อาลักษณลงอักษรเปน พระยาเศวตกุญชร บวรพาหนาถ...ลงในท่อนอ้อย แล้วพระหมอเถ้าจารึกเทวมนต์ลงในท่อนอ้อย ครั้นได้ฤกษ์...พระวิเชียรปรีชา ราชบัณฑิต รับเอาพานทองรองท่อนอ้อยต่อพระหมอเถ้าเข้าไปทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงรับเอาท่อนอ้อยไปพระราชทานพระยาช้างเผือกผู้ต่อพระหัตถ์"</ref> ซึ่งเจ้าช้างกลืนกินเข้าไปในทันที นี่น่าจะเป็นส่วนเดียวในพิธีที่ยังความพอใจให้แก่ช้างได้บ้าง แล้วช้างก็ได้รับการนำไปสู่เคหาสน์แห่งใหม่ และได้รับการเลี้ยงดูอยู่ที่นั่นจากบ่าวไพร่ที่คลานเข่า ผู้เฝ้าปรนเปรอมันด้วยอาหารจากจานทำด้วยเงิน
}}
 
{{ตรคป
|Things are much changed now. When the last white elephant was discovered, he was sent to Bangkok on a railway-track. There was no guard of honour, no procession, and the King only went to visit him when he was lodged in the stables. On the way to the palace the new-comer behaved himself very badly by walking up to a fruit-seller's stall — the first it had ever seen — and eating up everything that was on it, almost before the attendants had had time to notice what he was doing. Nowadays, the white elephants are badly fed by miserable grooms. They no longer have either priests or dancing-girls. The walls of their stables are half in ruins, and the roofs are covered with dirt of great age and thickness. Their food is only hay, leaves, and young bamboos. By the side of each elephant is a cage; this is intended for a white monkey, the fit and proper companion for the white elephant. But as white monkeys are more rare than white elephants, all these cages are empty.
|บัดนี้ สิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนไปมาก คราวที่พบช้างเผือกเชือกล่าสุดนั้น มีการส่งช้างมาบางกอกโดยทางรถไฟ ไม่มีกองทหารเกียรติยศ ไม่มีกระบวนแหนแห่ และพระเจ้าแผ่นดินเพียงแต่เสด็จไปเยี่ยมเยียนยามที่ช้างได้รับการจัดให้อยู่ในคอก ระหว่างทางมาพระราชวัง เจ้าสัตว์มาใหม่นี้มีพฤติกรรมย่ำแย่อย่างยิ่ง ด้วยมันเหยียบแผงขายผลไม้เจ้าแรกที่มันได้พบเจอ แล้วกินทุกอย่างที่อยู่บนนั้นเกลี้ยงเดี๋ยวเดียวก่อนที่คณะผู้ติดตามจะทันสังเกตว่า มันกำลังทำอันใด ทุกวันนี้ มีแต่คนเลี้ยงช้างน่าสมเพชคอยให้การเลี้ยงดูอย่างย่ำแย่แก่ช้างเผือก ไม่มีทั้งนักบวชและนางรำอีกแล้ว ผนังคอกช้างก็พังไปครึ่ง ส่วนหลังคาเล่าก็ล้วนฝุ่นจับมาช้านานและหนาเตอะ อาหารช้างก็เป็นแต่ฟาง ใบไม้ และไผ่อ่อน มีกรงหนึ่งหลังอยู่ข้างช้างแต่ละเชือก กรงนี้ตั้งใจไว้ใส่ลิงเผือกให้อยู่เป็นเพื่อนอันสมฐานะและศักดิ์ศรีของช้างเผือก แต่เพราะลิงเผือกหายากยิ่งกว่าช้างเผือก กรงเหล่านี้จึงว่างเปล่าไปหมด
}}
 
{{ตรคป
|Once a year each elephant is sprinkled with holy water by the priests, and is made to listen to a number of long prayers. This is done to keep away evil spirits, and so successful is the operation that it only needs repeating once in twelve months. When one of the elephants dies, they bring a white monkey, a few doctors, and a few priests, to visit the deceased. By his side they dig a hole in the ground, in which incense is burned. The body is covered with a white cloth, and then taken out of the town and left to rot in a field. Later on the bones and tusks are collected and preserved. For three days after the death of the quadruped a number of priests remain praying in the stable, requesting the spirit of the animal not to come back again and do any damage.
|ปีละครั้งที่ช้างแต่ละเชือกจะได้รับการพรมน้ำมนต์จากนักบวชและจัดให้ฟังคำสวดยืดยาวชุดหนึ่ง พิธีนี้มีขึ้นเพื่อปัดเป่าวิญญาณร้าย และการดำเนินพิธีก็ได้ผลดีเหลือเกินถึงขั้นที่จำเป็นต้องทำซ้ำเพียงครั้งเดียวในรอบ 12 เดือน เมื่อช้างเชือกหนึ่งถึงแก่กรรม จะมีการนำลิงเผือกหนึ่งตัว แพทย์ไม่กี่คน กับนักบวชไม่กี่รูป มาเยือนช้างที่ตาย ที่พื้นข้างเคียงช้างเขาจะขุดหลุมสำหรับจุดธูปไว้ในนั้น ซากช้างนั้นจะเอาผ้าขาวห่อแล้วจึงขนออกไปนอกเมืองและปล่อยให้เน่าเปื่อยอยู่กลางแปลง ต่อมาภายหลัง จะมีการรวบรวมกระดูกและงาไปเก็บรักษาไว้ นักบวชจำนวนหนึ่งจะสวดภาวนาอยู่ในคอกต่อไปเป็นเวลาสามวันหลังจากเจ้าสัตว์สี่เท้าสิ้นลมแล้ว เพื่อวอนขอให้วิญญาณของสัตว์นั้นอย่าหวนคืนกลับมาสร้างความเสียหายใด ๆ เลย
}}
 
==หมายเหตุ==
 
เส้น 85 ⟶ 28:
 
{{รออ}}
* {{อนสตรึง|author=บ1}}ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา|year=. (2548|title=). ''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4|location=''. กรุงเทพฯ|publisher=: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง|isbn=9149528115|ref=. {{ฮวตisbn|ทิพากรวงศฯ|2548}}|ignore-isbn-error=yes9789149528118}}.
* {{อนส|author=หอพระสมุดวชิรญาณ|title=[[จดหมายเหตุ เรื่อง รับพระยาเศวตกุญชรช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 2 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2355]]|year=2470|location=พระนคร|publisher=โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ref={{ฮวต|หอพระสมุดวชิรญาณ|2470}}|postscript={{วว}}(พิมพ์เนื่องในงานสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก ช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 7 เมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2470).}}
* {{อนสตรึง|author=บ2}}ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ|year=. (2478|title=). ''[[ปฐมสมโพธิกถา]]|location=''. พระนคร|publisher=: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ref={{ฮวต|ปรมานุชิตชิโนรส|2478}}|postscript={{วว}} [พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะสิริ) กับนายฮกเส่ง จึงแย้มปิ่น พิมพ์ในงานปลงศพสนองคุณนางจันทร์ ฉิมไพบูลย์ ผู้เป็นน้าและป้า ณวัดจักรวรรดิ์ราชาวาส วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2478].}}
* {{อนส|author=ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา|year=2548|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4|location=กรุงเทพฯ|publisher=อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง|isbn=9149528115|ref={{ฮวต|ทิพากรวงศฯ|2548}}|ignore-isbn-error=yes}}
* {{อนสตรึง|author=บ3}}หอพระสมุดวชิรญาณ|title=. (2470). ''[[จดหมายเหตุ เรื่อง รับพระยาเศวตกุญชรช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 2 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2355]]|year=2470|location=''. พระนคร|publisher=: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ref={{ฮวต|หอพระสมุดวชิรญาณ|2470}}|postscript={{วว}} (พิมพ์เนื่องในงานสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก ช้างเผือกแรกได้ในรัชกาลที่ 7 เมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2470).}} Check date values
* {{อนส|author=ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ|year=2478|title=[[ปฐมสมโพธิกถา]]|location=พระนคร|publisher=โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ref={{ฮวต|ปรมานุชิตชิโนรส|2478}}|postscript={{วว}}[พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะสิริ) กับนายฮกเส่ง จึงแย้มปิ่น พิมพ์ในงานปลงศพสนองคุณนางจันทร์ ฉิมไพบูลย์ ผู้เป็นน้าและป้า ณวัดจักรวรรดิ์ราชาวาส วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2478].}}
* {{อวตรึง|author=บ4}}Dictionary.com|year=. (2022|title=). "Christian name|website=". ''Dictionary.com Unabridged|accessdate=2022-08-02|url=.'' https://www.dictionary.com/browse/christian-name|ref={{ฮวต|Dictionary.com|2022}}}}
* {{อวตรึง|author=บ5}}Merriam-Webster|year=. (n.d.|title=). "Bath brick|website=". ''Merriam-Webster.com dictionary|accessdate=2022-08-02|url=.'' https://www.merriam-webster.com/dictionary/Bath%20-brick|ref={{ฮวต|Merriam-Webster|n.d.}}}}
{{จออ}}