ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิซอร์ซ:หลักเกณฑ์การตั้งชื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
เพื่อให้บทความต่าง ๆ ในวิกิซอร์ซมีหลักการการตั้งชื่ออย่างเป็นเอกภาพ จึงสมควรกำหนดหลักการดังต่อไปนี้วางเครื่องชี้ทาง (guideline) ไว้ดังนี้
 
* ใช้เลขไทย (หรือเลขชนิดอื่นตามต้นฉบับเป็นสำคัญ) และ พ.ศ. ใช้เลขสี่หลัก
== ทั่วไป ==
* พระราชบัญญัติ
 
พระราชบัญญัติxxx พ.ศ. zzzz
* '''ใช้ชื่อทางการ'''
พระราชบัญญัติxxx (ฉบับที่ n) พ.ศ. zzzz
** ให้ใช้ชื่ออย่างเป็นทางการของงานนั้น ๆ เช่น ''[[หม่อมเป็ดสวรรค์]]'', ''[[ราชาธิราช]]'' ฯลฯ
* กฎกระทรวง
** ในกรณีที่งานมีชื่อหลายชื่อ ซึ่งน่าจะเป็นทางการหมด หรือยังถกเถียงกันอยู่ในวงการที่เกี่ยวข้อง ให้ชั่งดูว่า ชื่อไหนนิยมที่สุด หรือมีเหตุผลที่สุด แล้วใช้ชื่อนั้นตั้งเป็นบทความ เช่น ''ยวนพ่าย'' อาจใช้ว่า ''โคลงยวยพ่าย'' (ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ ''ลิลิตยวนพ่าย'' ก็ได้ ในวิกิซอร์ซได้เลือกใช้ ''[[ลิลิตยวนพ่าย]]'' เหตุผลคือ คงไว้ตามต้นฉบับที่คัดมา แต่ฉบับที่ตรวจชำระโดยราชบัณฑิตยสถาน ในอนาคตอาจสร้างแล้วใช้ชื่อว่า ''[[โคลงยวนพ่าย]]'' ก็ได้
กฎกระทรวง (พ.ศ. zzzz) ออกตามความในxxx
* '''ระบุประเภทของงาน'''
กฎกระทรวง ฉบับที่ n (พ.ศ. zzzz) ออกตามความในxxx
** โดยปรกติ '''ไม่ต้อง'''ระบุประเภทของงาน เช่น ให้ใช้ว่า ''[[สังข์ทอง]]'' ไม่ต้องระบุว่า ''บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง'', ''[[การสิ้นสุดแห่งสภาพนอกอาณาเขตในกรุงสยาม]]'' ไม่ต้องระบุว่า ''ความเรียงเรื่องการสิ้นสุดแห่งสภาพนอกอาณาเขตในกรุงสยาม''
กฎกระทรวง ว่าด้วยxxx พ.ศ. zzzz
** แต่อาจระบุประเภทของงาน ถ้า
* ระเบียบกระทรวง
*** เป็นส่วนหนึ่งของชื่อทางการ เช่น ระบุว่าเป็นพระราชบัญญัติ, นิราศ, เพลงยาว เป็นต้น อาทิ ''[[ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา]]'', ''[[คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา]]'', ''[[เพลงยาวถวายโอวาท]]'', ''[[กากีกลอนสุภาพ]]'', ''[[อนิรุทธ์คำฉันท์]]'', ''[[กลอนไดเอรีซึมทราบกับตามเสด็จไทรโยค]]'' ฯลฯ
ระเบียบกระทรวงxxx ว่าด้วยyyyy พ.ศ. zzzz
*** ต้องการไม่ให้ชนกับงานอื่น ๆ ที่มีชื่อเดียวกัน เช่น ชื่อ ''กากี'' อาจหมายถึง ''[[กากีกลอนสุภาพ]]'', ''[[เห่เรื่องกากี]]'' ฯลฯ
* คำพิพากษา
* '''เขียนสะกดคำ'''
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ yy/zzzz
** โดยปรกติ ให้สะกดตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ฉบับปัจจุบันที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ yy/zzzz/ย่อ
** วรรคตอน เครื่องหมาย ฯลฯ ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามต้นฉบับ เช่น
คำพิพากษาศาลฎีกาแผนกxxx ในคดีหมายเลขแดงที่ อม. yy/zzzz
** อาจเขียนสะกดคำตามต้นฉบับ ถ้าเลือกจะสร้างงานโดยคงต้นฉบับไว้ แต่มีข้อแนะนำว่า ถ้าเลือกจะเขียนสะกดคำแบบนี้แล้ว ควรทำให้ตลอดบทความ (ไม่ใช่แค่ชื่อบทความอย่างเดียว)
* ชื่อเพลง ไม่ต้องใส่คำว่า ''เพลง'' ขึ้นต้น
** ตัวอย่างบทความที่คงการสะกดแบบโบราณไว้
* หากชื่อเรื่องยาวเกินไปจนไม่สามารถนำมาตั้งชื่อได้ (ซึ่งระบบจะแจ้งเตือนให้ทราบ) สามารถย่อด้วยไปยาลน้อย (ฯ)
*** ''[[ประกาศลักษณฉ้อ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ. ๑๑๙|ประกาศลักษณฉ้อ]]'' (ปัจจุบันต้องเขียน ''"-ลักษณะ-"'')
หลักการอื่นที่มิได้กำหนด ให้ใช้ชื่อเรื่องตามที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับโดยปริยาย
*** ''[[พระราชบัญญัติอธิกรณประถมปาราชิก พระพุทธศักราช ๒๔๖๓]]'' (ปัจจุบันต้องเขียน ''"-อธิกรณ์-"'')
* '''อื่น ๆ'''
** '''ระบุภูมิภาค''' โดยปรกติ '''ไม่จำเป็น'''ต้องระบุภูมิภาค เช่น ''[[ประมวลกฎหมายอาญา]]'' ไม่จำต้องว่า ''ประมวลกฎหมายอาญา (ประเทศไทย)''
** '''แก้ความกำกวม''' อาจแก้ความกำกวมได้ตามจำเป็น ในกรณีที่มีงานหลายงานชื่ออย่างเดียวกัน เช่น ''คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา'' มีหลายเจ้าทำไว้ ดังนั้น จึงอาจตั้งชื่อบทความเป็น ''[[คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา (กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์)]]'' และ ''[[คำอธิบายกฎหมายลักษณะอาญา (หยุด แสงอุทัย)]]'' แต่จะดีมาก ถ้าทำ[[หน้าแก้ความกำกวม]]ไว้ด้วย
 
== เอกสารราชการไทย ==
 
* '''หลักทั่วไป''' ความจริงแล้ว ไม่มีอะไรยุ่งยาก เพียงแค่คุณตามต้นฉบับเท่านั้น แต่เพื่อขจัดความสงสัยบางประการ วิกิซอร์ซจึงขยายความดังนี้
* '''เลข'''
** ใช้เลขไทย เช่น ''[[พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่ไม่เหมาะสมกับกาลปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๖]]'', ''[[ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๔๔ ลงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๑๕]]'' ฯลฯ
** แต่ถ้าต้นฉบับใช้เลขอื่น ก็ให้ตามนั้น เช่น ''[[พระราชบัติยกเลิกกดหมายว่าด้วยเครื่องแต่งกายผู้มีตำแหน่งเฝ้า พุทธสักราช 2486]]''
* '''เขียนสะกดคำ'''
** ให้ตามต้นฉบับเสมอ เช่น ''[[พระราชกำหนดจัดตั้งสภาวิจัยปรากตการน์ธัมชาติ พุทธสักราช 2486]]'' เว้นแต่ต้นฉบับสะกดผิดจริง ๆ เช่น "คำสั่ง" พิมพ์ตกเป็น "คำสัง" เป็นต้น
** ไม่เว้นวรรคระหว่างชื่อประเภทกฎหมาย กับชื่อลักษณะกฎหมาย เช่น ''[[พระราชบัญญัติชื่อถิ่นกำเนิดเหล้าองุ่นโปรตุเกส พุทธศักราช ๒๔๘๑]]'' ไม่ใช่ ''พระราชบัญญัติ ชื่อถิ่นกำเนิด...'', หรือ ''[[ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการไกล่เกลี่ย พ.ศ. ๒๕๕๔]]'' ไม่ใช่ ''ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา ว่าด้วย...'' ทั้งนี้ เว้นแต่ต้นฉบับจะวรรค
* '''ปี'''
** ถ้าต้นฉบับใช้ "พุทธศักราช" (หรือสะกดอย่างอื่น เช่น "พระพุทธศักราช", "พุทธสักราช" ฯลฯ) ก็ให้ตามนั้น ไม่ต้องย่อเป็น "พ.ศ."
** กลับกัน ถ้าต้นฉบับใช้ "พ.ศ." ก็ตามนั้น ไม่ต้องเปลี่ยนมาเขียนเต็มเป็น "พุทธศักราช"
** หลักการนี้ให้ใช้แก่ศักราชอื่น ๆ และการเขียนตัวย่อตัวเต็มอื่น ๆ ด้วยโดยอนุโลม เช่น ร.ศ., ฮ.ศ., ค.ศ., จ.ศ. (ซึ่งปรากฏอยู่ในกฎหมายไทยเก่า ๆ) รวมถึงกฎหมายบางประเภทที่ใช้อักษรย่อ เช่น ''[[ประกาศ ก.ศป.ฯ กำหนดคุณสมบัติของฯ พนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔|ประกาศ ก.ศป. เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔]]''
* '''คำพิพากษา/คำสั่งศาล'''
** ให้ว่า ''[[คำสั่งศาลฎีกาที่ ๔๔๙๔/๒๕๕๔]]'' หรือ ''[[คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๘๐๐/๒๕๕๔]]'' เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อก่อนเคยนิยมใช้ ''ฎีกาที่ XX/XXXX'' เฉย ๆ
** ไม่ใช้ว่า ''"คำพิพากษา'''ของ'''..."'' หรือ ''"คำสั่ง'''ของ'''..."'' เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๔๑๕/๒๕๕๓]]'' ทั้งนี้ เว้นแต่ต้นฉบับจะใช้
** ในกรณีที่ไม่ปรากฏเลขคำพิพากษา ให้ใช้เลขคดีแดง เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ในคดีหมายเลขแดงที่ ฟ. ๒๙/๒๕๕๓]]'', ''[[คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ในคดีหมายเลขแดงที่ อ. ๔๓/๒๕๕๔]]'' ฯลฯ
** ถ้าคดียังไม่จบ (ยังไม่มีเลขคดีแดง) ก็ให้ใช้เลขคดีดำแทน เช่น ''[[คำสั่งศาลปกครองกลาง ในคดีหมายเลขดำที่ ๖๗๑/๒๕๕๔]]''
* '''ชื่อยาวเกินไป'''
** กฎหมายไทยบางฉบับชื่อยาวมาก แต่ด้วยข้อจำกัดทางเทคนิค ทำให้ไม่อาจตั้งชื่อแบบนั้นได้ในวิกิซอร์ซ ในกรณีนี้ อาจย่อชื่อลง เอาแต่ท่อนสำคัญ ๆ และใช้ไปยาลน้อย ("ฯ") เช่น ''[[พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าฯ สินค้าฯ สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘]]'' ชื่อเต็มคือ ''พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการห้ามนำเข้าและจำหน่ายและการผ่อนผันให้จำหน่ายซึ่งสินค้าที่ผลิตหรือมีกำเนิดในสาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๑๘''
* '''หลักการอื่น ๆ''' โปรดดู
** ''[http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general/!ut/p/c5/04_SB8K8xLLM9MSSzPy8xBz9CP0os3g_A2czQ0cTQ89ApyAnA0__EIOAQGdXAwMLE30_j_zcVP2CbEdFAIfszEk!/dl3/d3/L3dDb0EvUU5RTGtBISEvWUZSdndBISEvNl9OMEM2MUE0MUlRQlJCMElPVDBQUUNFMDQ0NQ!!/ คู่มือเบื้องต้น : การร่างกฎหมายและแบบของกฎหมาย]'' ของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งบอกว่า กฎหมายประเภทนี้ควรเขียนชื่อแบบนี้ (เช่น กฎกระทรวง, ประกาศ ฯลฯ ควรเรียงชื่อแบบนั้นแบบนี้)
** อาจดู ''[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00171493.PDF ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖]'' เพิ่มเติมก็ได้
 
== ดูเพิ่ม ==