ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปัญญาสชาดก/ภาคที่ 19"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาด +แทนที่ "ผู้ใช้:Aristitleism/Page break" → "pb2|" +แทนที่ "center" → "c" +แทนที่ "{{center|" → "{{c|" +แทนที่ "{{color|" → "{{c...
บรรทัดที่ 1:
{{คุณภาพเนื้อหา|75%}}
{{หัวเรื่อง2
| ชื่อเรื่อง = สุวรรณสังขชาดก
| ชื่อเรื่องย่อย =
| ผู้แต่งไม่ลิงก์ = คณะสงฆ์แห่งอาณาจักรล้านนา   {{cl|#aaddaa|•}}  
|วิกิพีเดียชื่อเรื่อง=
| ผู้แปล = หลวงธำรงเจดีย์รัฐ (เทศ วิริยรัต)
|พระราชนิพนธ์=
| ก่อนหน้า =
|พระนิพนธ์=
| ถัดไป =
|ผู้แต่ง=
| หมายเหตุ =
|ผู้แต่งไม่ลิงก์= คณะสงฆ์แห่งอาณาจักรล้านนา {{ผู้ใช้:Aristitleism/authordot}}
|วิกิพีเดียผู้แต่ง=
|ผู้แปล= หลวงธำรงเจดีย์รัฐ (เทศ วิริยรัต)
|เรื่องก่อนหน้า=
|เรื่องถัดไป=
|ก่อนหน้า=
|ถัดไป=
|หมายเหตุ= {{รุ่น}}
}}
{{edition}}
<div id="ปก"/>
{{pb2|label=ปก}}
{{center|{{color|grey|{{font-size|85%|ปก}}}}}}
{{fs|85%|[[#ก|ลง]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#ก|ลง]]}}
 
 
เส้น 28 ⟶ 21:
 
 
<center><big><big>{{c|{{fs|120%|ปัญญาสชาดก ปัจฉิมภาค</big></big></center>}}}}
 
 
{{c|{{fs|140%|ภาคที่ ๑๙}}}}
<center><big><big><big>ภาคที่ ๑๙ <br><br><br>'''๓. สุวรรณสังขชาดก'''</big></big></big></center>
 
 
{{c|{{fs|140%|๓. สุวรรณสังขชาดก}}}}
<center>_______________</center>
 
 
{{r|8em}}
 
<center><big>พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ</big></center>
 
 
{{c|{{fs|90%|พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ}}}}
<center><big><big>อำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)</big></big></center>
 
 
{{c|อำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)}}
<center><big>เมื่อปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๗๑</big></center>
 
 
{{c|{{fs|90%|เมื่อปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๗๑}}}}
<center>_______________</center>
 
 
{{r|8em}}
 
 
<center>พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร</center>
 
{{c|{{fs|85%|พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร}}}}
 
 
เส้น 58 ⟶ 54:
 
<div id="ก"/>
{{pb2|ก–ง}}
{{center|{{color|grey|{{font-size|85%|หน้า ก-ง}}}}}}
{{fs|85%|[[#ปก|ขึ้น]] • [[#แทรก|ลง]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#ปก|ขึ้น]] • [[สุวรรณสังขชาดก#แทรก|ลง]]}}
 
 
เส้น 67 ⟶ 62:
 
<div id="คำนำ"/>
<center><big><big>'''{{c|{{fs|130%|คำนำ'''</big></big></center>}}}}
 
 
{{r|8em}}
 
 
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 76 ⟶ 73:
ในงานปลงศพอำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) ซึ่งจะได้พระราชทานเพลิงในเดือนมีนาคม ปีนี้ เจ้าภาพมีความประสงค์จะพิมพ์หนังสือแจกเนื่องในงานนั้นสักเรื่องหนึ่ง จึ่งแจ้งความมายังราชบัณฑิตยสภา ขอให้กรรมการช่วยเลือกหนังสือและจัดการพิมพ์ให้ ข้าพเจ้าระลึกขึ้นถึงความหลังที่ได้คุ้นเคยเกี่ยวข้องมากับพระยาประเสริฐสุนทราศรัย ทั้งในฝ่ายที่เป็นคุณ และบางทีจะได้เคยเป็นความเดือดร้อนแก่พระยาประเสริฐฯ เพราะตัวข้าพเจ้ามีมาแต่ก่อนบ้าง ดังรายการอันจะมีแจ้งอยู่ในเรื่องประวัติต่อไปข้างหน้า กล่าวความโดยย่อ คือ พระยาประเสริฐฯ เมื่อยังเด็ก ได้เข้าเป็นนักเรียนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ เมื่อข้าพเจ้าเป็นผู้จัดการโรงเรียน เริ่มแรกได้รู้จักคุ้นเคยกัน เมื่อพระยาประเสริฐฯ เสร็จการเล่าเรียน เข้ารับราชการ เริ่มมีตำแหน่งในกระทรวงมหาดไทย ก็ประจวบเวลาข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีรับราชการอยู่ในกระทรวงนั้น ได้เป็นเพื่อนราชการด้วยกันมา ข้าพเจ้าได้มีโอกาสใช้สอยบังคับบัญชามาตลอดถึงเวลาข้าพเจ้าออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ในระหว่างนั้น พระยาประเสริฐฯ ได้รับราชการตั้งแต่เป็นตำแหน่งผู้น้อย และได้เลื่อนยศและตำแหน่งขึ้นด้วยความพยายามและความซื่อตรง เป็นความชอบโดยลำดับ จนได้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดไปอยู่เมืองเลยอันนับว่าเป็นที่กันดารอย่างยิ่ง พระยาประเสริฐฯ ต้องทนความลำบากอยู่ถึงเก้าปี เพราะข้าพเจ้าหาตัวเปลี่ยนไม่ได้ จึ่งรู้สึกว่าข้าพเจ้าเป็นผู้ทำให้พระยาประเสริฐฯ ได้ความเดือดร้อน แม้โดยมิได้เจตนา เมื่อพระยาประเสริฐฯ มาถึงอนิจกรรมลง และเจ้าภาพมาขอให้ช่วยเลือกหาเรื่องหนังสือ จึ่งเต็มใจที่จะทำให้ และกล่าวความที่เคยเกี่ยวข้องกันลงไว้ให้ปรากฏ เหมือนหนึ่งได้สนองคุณพระยาประเสริฐฯ บ้างเล็กน้อย ส่วนหนังสือที่จะพิมพ์นั้น ข้าพเจ้าได้เลือกปัญญาสชาดกให้พิมพ์ ด้วยเป็นหนังสือซึ่งกรรมการมุ่งหมายจะให้มีบริบูรณ์ในวรรณคดีของไทย อนุโลมเข้าในนิบาตชาดกอันพิมพ์ขึ้นโดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
อันหนังสือปัญญาสชาดกนี้ คือ ประชุมนิทานเก่าแก่ที่เล่ากันในเมืองไทยแต่โบราณห้าสิบเรื่อง<ref>หนังสือปัญญาสชาดกนี้ ตามที่ได้ตรวจฉบับ มีลักษณะแผกกันเป็นสองอย่าง อย่างหนึ่งเรียกว่า "ปัญญาสชาดกบั้นปลาย”บั้นปลาย" แต่ไม่ปรากฏว่ามี "บั้นต้น”ต้น" อีกอย่างหนึ่งเรียกว่า "ปัญญาสชาดกปฐมภาค (คือ ภาคแรก) คัมภีร์”คัมภีร์""ปัญญาสชาดกปัจฉิมภาค (คือ ภาคหลัง) คัมภีร์”คัมภีร์" ๑ ปัญญาสชาดกบั้นปลายมีอยู่ดาษดื่นทั่วไป แต่ปัญญาสชาดกปฐมภาคกับปัจฉิมภาคนั้นหาฉบับยาก แต่แรกอ่านดูเข้าใจว่า ปัญญาสชาดกบั้นปลายกับปัญญาสชาดกปัจฉิมภาคเป็นคัมภีร์เดียวกัน ครั้นตรวจสอบกันเข้า ตรงกันข้าม ปัญญาสชาดกบั้นปลายกลับตรงกับปัญญาสชาดกปฐมภาค ไปจบคัมภีร์เพียงห้าสิบนิทาน จึ่งสันนิษฐานว่า คงเป็นด้วยชั้นเดิมผู้แต่งปัญญาสชาดกบั้นปลายมุ่งหมายจะให้อนุโลมเข้าใจปัญญาสนิบาต ภายหลังมีผู้แต่งนิทานเพิ่มเข้าอีกยี่สิบห้าเรื่อง และมุ่งหมายจะให้เป็นหนังสือส่วนหนึ่งต่างหาก ไม่อนุโลมเข้าในนิบาท จึ่งเปลี่ยนชื่อ ปัญญาสชาดกบั้นปลาย เป็น ปัญญาสชาดกปฐมภาค ส่วนที่แต่งเติมเข้าใหม่เรียกว่า ปัญญาสชาดกปัจฉิมภาค ''— [เชิงอรรถของ พระพินิจวรรณการ (แสง สาลิตุล)]''</ref> พระสงฆ์ชาวเชียงใหม่รวบรวมแต่งเป็นชาดกไว้ในภาษาบาลี เมื่อพระพุทธศักราชประมาณราวในระหว่าง ๒๐๐๐ จนถึง ๒๒๐๐ ปี อันเป็นสมัยเมื่อพระสงฆ์ชาวประเทศนี้พากันไปเล่าเรียนมาแต่ลังกาทวีป มีความรู้ภาษามคธแตกฉาน เอาแบบอย่างของพระภิกษุสงฆ์ในลังกาทวีปมาแต่งหนังสือเป็นภาษามคธขึ้นในบ้านเมืองของตน แต่งเป็นอย่างอรรถาธรรมาธิบาย เช่น คัมภีร์มังคลัตถทีปนี เป็นต้นบ้าง แต่งเป็นเรื่องศาสนประวัติ เช่น คัมภีร์ชินกาลมาลินี เป็นต้น ตามอย่างเรื่องมหาวงศ์พงศาวดารลังกาบ้าง แต่งเป็นชาดก เช่น เรื่องปัญญาสชาดกนี้เอาอย่างนิบาตชาดกบ้าง โดยเจตนาจะบำรุงพระศาสนาให้ถาวร และจะให้หนังสือซึ่งแต่งนั้นเป็นหลักฐานมั่นคง ด้วยเป็นภาษาเดียวกับพระไตรปิฎก แต่หนังสือปัญญาสชาดกนี้ เห็นจะแต่งในตอนปลายสมัยที่กล่าวมา เพราะความรู้ภาษามคธดูทรามลงไม่ถึงหนังสือแต่งชั้นก่อน
 
หนังสือปัญญาสชาดกนี้ ต้นฉบับเดิมเป็นคัมภีร์ลาน จำนวนรวมห้าสิบผูกด้วยกัน เดี๋ยวนี้เห็นจะมีอยู่แต่ในประเทศสยามกับที่เมืองหลวงพระบางและที่กรุงกัมพูชา ที่อื่นหามีไม่ มีเรื่องราวปรากฏว่าเคยได้ฉบับไปถึงเมืองพม่าครั้งหนึ่ง พม่าเรียกว่า "เชียงใหม่ปัณณาส”ปัณณาส" แต่พระเจ้าแผ่นดินพม่าองค์ใดองค์หนึ่งดำรัสว่า เป็นหนังสือแต่งปลอมพระพุทธวจนะ สั่งให้เผาเสีย ในเมืองพม่าจึ่งมิได้มีหนังสือปัญญาสชาดกเหลืออยู่ คำที่ติว่าแต่งปลอมพระพุทธวจนะนั้น เพราะพระเจ้าแผ่นดินพม่าองค์นั้นหลงเชื่อว่า หนังสือนิบาตชาดก หรือที่เราเรียกกันในภาษาไทยว่า "เรื่องพระเจ้าห้าร้อยห้าสิบชาติ”ชาติ" เป็นพระพุทธวจนะ ซึ่งที่แท้หาเป็นเช่นนั้นไม่ ความจริงเป็นดังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชวิจารณ์ไว้ในพระราชนิพนธ์คำนำหนังสือนิบาตชาดกภาคต้นซึ่งโปรดให้พิมพ์เมื่อในรัชกาลที่ ๕ ว่า เรื่องนิบาตชาดกนั้น คงเป็นนิทานที่เล่ากันในพื้นเมือง มีมาแต่ก่อนพุทธกาลช้านาน เมื่อพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนเวนัยสัตว์ ทรงยกเอาเรื่องนิทานมาแสดงเป็นอุปมาในพระธรรมเทศนาเนือง ๆ ก็ธรรมดาในเรื่องนิทานย่อมต้องมีตัวดีและตัวชั่ว ตัวดีจะเป็นคนก็ตาม จะเป็นสัตว์เดียรัจฉานก็ตาม ย่อมเรียกว่า "มหาสัตว์”สัตว์" มาเกินสมมติขึ้นต่อภายหลังพุทธกาลว่า มหาสัตว์ในเรื่องชาดกนั้นคือพระพุทธเจ้าในอดีตชาติ ครั้นเมื่อมาตบแต่งร้อยกรองพระไตรปิฎกกันในชั้นหลัง ๆ ผู้แต่งประสงค์จะปลูกศรัทธาให้มั่งคงตามความเชื่อถือของตน จึ่งแต่งประชุมชาดกประหนึ่งว่าพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงไว้ชัดเจนว่า มหาสัตว์นั้น ๆ มาเกิดเป็นพระพุทธองค์ และบุคคลหรือสัตว์นั้น ๆ มาเป็นผู้นั้นผู้นี้ในปัจจุบันชาติ รูปเรื่องชาดกจึ่งเป็นเช่นปรากฏอยู่ในหนังสือนิบาตชาดก เพราะความเป็นดังอธิบายมานี้ ที่พระสงฆ์ชาวเชียงใหม่เอานิทานในพื้นเมืองมาแต่งเป็นชาดกเป็นแต่แต่งตามแบบอย่างหนังสือเก่าซึ่งพระคันถรจนาจารย์ได้แต่งมาแต่ปางก่อน หาได้ตั้งใจจะหลอกลวงผู้หนึ่งผู้ใดว่าเป็นพระพุทธวจนะไม่ พระเจ้าแผ่นดินพม่าหากเข้าพระทัยหลงไปเอง
 
นิทานในปัญญาสชาดกเป็นนิทานที่ไทยเรารู้กันอยู่ซึมทราบหลายเรื่อง เช่น เรื่องสมุทรโฆษ เรื่องพระสุธนนางมโนราห์ เรื่องสังข์ทอง เรื่องคาวี เรื่องพระรถเสน เป็นต้น เรื่องสุวรรณสังขชาดกที่พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ก็มีผู้เอามาแต่งเป็นกลอนอ่าน เรียกว่า เรื่องสังข์ทอง การที่เอาหนังสือปัญญาสชาดกมาแปลพิมพ์จะเป็นประโยชน์สอบสวนให้รู้ว่า นิทานเหล่านั้นเรื่องที่เขาเล่ามาแต่โบราณเป็นอย่างไร ที่เอามาแต่งเป็นโคลงฉันท์และบทละครกลอนอ่านเอามาแก้ไขเสียอย่างใดบ้าง และให้รู้เรื่องนิทานเก่าแก่ของประเทศนี้ซึ่งมิได้ปรากฏในที่อื่นก็อีกหลายเรื่อง เรื่องที่พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ชื่อ สุวรรณสังขชาดก (คือ เรื่องสังข์ทอง) เป็นเรื่องที่หนึ่งในปัจฉิมภาคแห่งปัญญาสชาดก
เส้น 91 ⟶ 88:
 
 
: '''นายกราชบัณฑิตยสภา'''
 
: วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๑
เส้น 100 ⟶ 97:
 
<div id="แทรก"/>
{{center|{{color|grey|{{font-size|85%pb2|label=หน้าแทรก}}}}}}
{{fs|85%|[[#ก|ขึ้น]] • [[#(๑)|ลง]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#ก|ขึ้น]] • [[สุวรรณสังขชาดก#(๑)|ลง]]}}
 
 
เส้น 112 ⟶ 108:
 
 
<center>{{c|อำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)</center>}}
 
<center>{{c|พ.ศ. ๒๔๖๑-๒๔๖๑–พ.ศ. ๒๔๗๑</center>}}
 
 
เส้น 121 ⟶ 117:
 
<div id="(๑)"/>
{{centerpb2|{{color|grey|{{font-size|85%|หน้า (๑)-(๕)}}}}}}
{{fs|85%|[[#แทรก|ขึ้น]] • [[#๑|ลง]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
 
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#แทรก|ขึ้น]] • [[สุวรรณสังขชาดก#๑|ลง]]}}
 
 
 
 
{{c|{{fs|130%|ประวัติของอำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย}}}}
 
 
{{r|8em}}
<center><big><big>'''ประวัติของอำมาตย์โท พระยาประเสริฐสุนทราศรัย'''</big></big></center>
 
 
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 166 ⟶ 163:
พระยาประเสริฐสุนทราศรัยได้รับราชการมาด้วยความดีความชอบ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นบำเหน็จมาเป็นลำดับดังนี้ คือ
 
๑. {{gapg|0.5em}} ตราจัตุรถาภรณ์ ช้างเผือก
 
๒. {{gapg|0.5em}} ตราจัตุรถาภรณ์ มงกุฎสยาม
 
๓. {{gapg|0.5em}} เหรียญจักรพรรดิมาลา
 
๔. {{gapg|0.5em}} เหรียญรัชฎาภิเษก
 
๕. {{gapg|0.5em}} เหรียญทวีธาภิเษก
 
๖. {{gapg|0.5em}} เหรียญรัชมงคล
 
๗. {{gapg|0.5em}} เหรียญรัชมังคลาภิเษก ชุบทอง
 
๘. {{gapg|0.5em}} เหรียญประภาสมาลา เงิน
 
๙. {{gapg|0.5em}} เหรียญบรมราชาภิเษก เงิน รัชกาลที่ ๖
 
พระยาประเสริฐสุนทราศรัยมีบุตรและธิดา คือ
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} คุณหญิงนครราชเสนี (เจือ สิงหเสนี)
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๒ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} เจริญ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๓ {{gapg|0.95em}} บุตร {{gapg|0.4em}} หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๔ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} จำรัส สิงหเสนี (ภรรยานายเทียบ สิงหเสนี)
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๕ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} จวง สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๖ {{gapg|0.95em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายประกอบ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๗ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} พวง สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๘ {{gapg|0.95em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} กระจับ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๙ {{gapg|0.95em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายดาบจำเนียร สิงหาเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๐ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายประจง สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๑ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายกระจาย สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๒ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายประพันธ์ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๓ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายนุช สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๔ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายกระเจิ่น สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๕ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายจำนง สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๖ {{gapg|0.5em}} บุตร {{gapg|0.4em}} นายสมพงศ์ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๗ {{gapg|0.5em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} พิศ สิงหเสนี
 
ที่ {{gapg|0.5em}} ๑๘ {{gapg|0.5em}} ธิดา {{gapg|0.5em}} เพลินจิตร์ สิงหเสนี (ถึงแก่กรรมเมื่ออายุห้าปี)
 
สิ้นประวัติย่อของพระยาประเสริฐสุนทราศรัยเพียงเท่านี้
เส้น 229 ⟶ 226:
 
<div id="๑/>
{{pb2|๑–๖๒}}
{{center|{{color|grey|{{font-size|85%|หน้า ๑-๖๒}}}}}}
{{fs|85%|[[#(๑)|ขึ้น]] • [[#ปกหลัง|ลง]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#(๑)|ขึ้น]] • [[สุวรรณสังขชาดก#ปกหลัง|ลง]]}}
 
 
เส้น 237 ⟶ 233:
 
 
<center><big><big>'''{{c|{{fs|130%|ปัญญาสชาดก ปัจฉิมภาค<br><br>๓. สุวรรณสังขชาดก'''</big></big></center>}}}}
 
 
{{c|{{fs|130%|สุวรรณสังขชาดก}}}}
<center>_______________</center>
 
 
{{r|8em}}
<center>หลวงธำรงเจดีย์รัฐ (เทศ วิริยรัต) เปรียญ ๔ ประโยค<br><br>แปล</center>
 
 
{{c|หลวงธำรงเจดีย์รัฐ (เทศ วิริยรัต) เปรียญ ๔ ประโยค}}
 
 
{{c|แปล}}
 
 
{{r|8em}}
 
 
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 256 ⟶ 261:
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 290 ⟶ 295:
พระเจ้ากรุงพรหมทัตหามีปรีชาไม่ หลงเชื่อถ้อยคำเสนาบดีและนางสุวรรณจัมปากเทวี ทรงพระพิโรธอย่างใหญ่ จึ่งบังคับรับสั่งอำมาตย์ว่า พวกอำมาตย์ จงช่วยกันผูกแพให้ใหญ่ เอานางจันทากับกุมารใส่ไว้ในแพ ไปลอยเสียในแม่น้ำคงคา ฝ่ายพระนางจันทาเทวีและชนชาวบุรีทราบเหตุนั้นแล้วก็พากันร่ำร้องไห้ยกใหญ่
 
'''เตน วุตฺตํ''' เพราะเหตุนั้น พระบรมศาสดาพระองค์ได้ถึงสัมโพธิญาณแล้ว จึ่งนำเหตุเรื่องมาแสดงธรรมแก่พระสารีบุตร อันมีในจริยาปิฎกปกรณ์ว่า ดูกร ธรรมเสนาบดีสารีบุตร เมื่อกาลครั้งก่อน เราผู้ตถาคตยังแสวงหาพระโพธิญาณอยู่ ได้เกิดเป็นราชโอรสแห่งพระเจ้าพรหมทัต ณ พรหมบุรีพระนคร พระราชานั้นหลงเชื่อถ้อยคำราชเทวีผู้ใจบาป นำเรา ตถาคต กับพระมารดา ไปลอยแพเสียในกระแสน้ำคงคา คราวนั้น พวกอำมาตย์และราษฎรทั้งหลายประชุมกัน ณ หน้าพระลายหลวง พากันทูลขอพระบรมโพธิสัตว์ไว้ พระราชาก็มิได้ประทานให้ พากันร้องไห้ล้มลง ณ พื้นปถพี เหมือนป่ารังอันถูกลมยุคันตวาตพัดให้ล้มลงฉะนั้น กาลเมื่อใดพวกอำมาตย์เข้าจับเรา ตถาคต กับมารดา ใส่เข้าไว้ในแพใหญ่ กาลเมื่อนั้น มหัศจรรย์ก็เกิดเป็นโกลาหล เมทินีดลอันหนาได้สองแสนสี่หมื่นโยชน์ก็เกิดหวั่นไหวปานประหนึ่งว่าจะโศกเศร้า พระยาเขาสิเนรุเป็นที่พึ่งของโลกก็อ่อนเอนอยู่ไปมาเปรียบดังยอดหวายฉะนั้น ฝนก็ตกลงมาแต่เบื้องบน สาครก็คำรนร้องก้องสนั่นเหมืองดังช้างอันเมามันฉะนั้น บรรดาหมู่สัตว์ดิรัจฉานทั้งปวงก็เกิดความกรุณาใหญ่ด้วยประการฉะนี้<{{ref name = "Chariyapidok">ย่อหน้านี้มาจาก จริยาปิฎก ''— [เชิงอรรถของ วิกิซอร์ซ, ปรับปรุงจากเชิงอรรถต้นฉบับ ซึ่งว่า “แต่หน้า ๑๐ บรรทัดที่ ๘ ถึงหน้า ๑๑ บรรทัดที่ ๒ เป็นความในจริยาปิฎก”]''</ref>label|reference_name_ก|ก|ก}}
 
'''โส อุลุมฺโป''' ความว่า แพนั้นลอยไปตามกระแสน้ำคงคาช้านาน ด้วยบุรพอกุศลกรรมของพระราชเทวีและพระโพธิสัตว์ มีลมพายุใหญ่พัด ทำให้แพแตกออกไป พระนางจันทาเทวีได้ไม้ที่แพแตกนั้นท่อนหนึ่งเกาะลอยไป ทอดพระเนตรเห็นไม้ต้นหนึ่งตั้งอยู่ริมฝั่ง มียอดประลงมาใกล้น้ำ นางจึ่งพยายามว่ายไปด้วยกำลังแรง จับยอดไว้นั้นไว้ได้มั่น ค่อย ๆ ไต่ขึ้นไปถึงคบไม้ นั่งนึกถึงโอรส แล้วทางโศกายกใหญ่ นางก็เลยนั่งอยู่ ณ ต้นไม้ที่ฝั่งคงคาใกล้มัทราชบุรี<{{ref name = "Chariyapidok"/>label|reference_name_ก|ก|ก}}
 
คราวนั้น เศรษฐีคนหนึ่งนามว่า ธนญชัย มีสมบัติมาก อยู่ในมัทราชบุรี วันนั้น ทาสีของธนญชัยเศรษฐีไปเที่ยวตามฝั่งคงคาด้วยกิจธุระอย่างหนึ่ง ไปพบพระนางจันทาเทวีร้องไห้อยู่บนคบไม้ จึ่งเดินเข้าไปใกล้ ร้องถามว่า แม่ทำไมจึ่งนั่งร้องไห้อยู่ที่นี้
เส้น 478 ⟶ 483:
พระเจ้ากรุงพาราณสีสดับถ้อยคำราชเสวกมีอำมาตย์เป็นต้นทูลดังนั้น มีหฤทัยเร่าร้อนเหมือนถูกไฟเผา จึ่งรับสั่งให้อำมาตย์นำเนื้อความไปบอกแก่ชาวนครและชาวนิคมชนบทให้รู้ทั่วกันดังนี้ว่า ใครคนใดอาจเหาะไปแก้ปัญหาและตีคลีกับพระอินทร์บนอากาศได้ เราจะให้ราชสมบัติแก่ผู้นั้นทั้งหมด อำมาตย์ได้จัดการตามรับสั่งแล้ว จะหาใครคนหนึ่งอาจเข้ามารับอาสาก็มิได้มี พระเจ้ากรุงพาราณสีทรงทราบว่าหาคนรับอาสาไม่ได้ ก็เศร้าพระหฤทัย จึ่งไปปรับทุกข์กับอัครมเหสีว่าถึงวันคำรบเจ็ดพี่ก็จักต้องตาย เพราะเสาะหาคนที่จะแก้ปัญหาและตีคลีกับพระอินทร์บนอากาศไม่ได้ ตรัสแล้วก็ทรงพิลาปร่ำไรอยู่ในปราสาท
 
พระราชเทวีจึ่งกราบทูลพระราชสามีว่า ข้าแต่สมมติเทวา พระองค์ทรงพิลาปไปทำไม หาควรไม่ พระองค์ให้ไปเรียกตัวเจ้าเงาะป่าเข้ามาหารือดู เจ้าเงาะป่านั้นเขามีบุญฤทธิ์จริง ๆ พระองค์ทรงบังคับให้เขาเอาเนื้อ และสุกร และปลามาให้ เจ้าเงาะป่าตัวคนเดียวเขายังหามาถวายได้ เจ้าเงาะป่าเขาฉลาดในอุบายปัญญา สามารถจะแก้ปัญหาและรบกับพระอินทร์ได้แท้ หกกษัตรย์กษัตริย์และพวกอำมาตย์ก็พากันหัวเราะแล้วทูลทัดทานขึ้นต่อหน้าพระที่นั่งว่า พระแม่เจ้าข้า เจ้าเงาะป่าเป็นมนุษย์เหมือนรูปหุ่น ไม่สามารถจะแก้ปัญาหาและรบกับพระอินทร์ได้เลย พระราชเทวีมีเสาวนีย์ตรัสว่า พ่อพวกอำมาตย์ เจ้าเงาะป่ามีฤทธิ์มาก ท่านอย่าห้ามไว้เลย จงรีบไปตามตัวมาประชุมเดี๋ยวนี้ พระราชาทรงฟังเสาวนีย์เทวีตรัสดังนั้น จึ่งบังคับพวกอำมาตย์ว่า พวกท่านจงไปเรียกตัวเงาะป่าให้มาพร้อมกับนางคันธาเทวี ณ บัดนี้ พวกอำมาตย์รับราชดำรัสแล้วก็รีบไปนำตัวพระโพธิสัตว์กับนางคันธาเทวีมาถวายพระราชา
 
พระราชากับราชเทวีทอดพระเนตรพระโพธิสัตว์แล้วตรัสว่า ดูกร ลูกรักของบิดา บิดาไม่มีความสุขเลย เพราะเหตุพระอินทร์มาถามปัญหา และท้าให้บิดาตีคลีกันบนอากาศ บิดาและประชาชนก็หมดความสามารถที่จะแก้ปัญหาและตีคลีกับพระอินทร์ได้ ถึงวันคำรบเจ็ด พระอินทร์ก็จะเสด็จตีศรีษะศีรษะบิดาด้วยค้อนเหล้ก พระราชาเล่าเนื้อความของปัญหาสองข้อและเหตุการณ์ทั้งปวงให้พระโพธิสัตว์ฟังถ้วนถี่ทุกประการ แล้วตรัสว่า ถ้าหากพ่ออาจช่วยเปลื้องเหตุการณ์ที่บิดาเล่าให้ฟังนี้ได้ไซร้ บิดาจะยกราชสมบัติให้พ่อ พระราชายังดูหมิ่นพระโพธิสัตว์อยู่ แต่รับสั่งอย่างนี้ด้วยยำเกรงต่อพระราชเทวีเท่านั้น พระโพธิสัตว์กราบทูลพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช ถ้าหากว่าใคร ๆ เขาไม่อาจทำปฏิการะแด่พระองค์ได้ไซร้ ข้าพระบาทอาจแก้ปัญหาและเหาะไปตีคลีกับพระอินทร์บนอากาศสนองพระคุณได้ พระองค์อย่าทรงวิตกไปเลย วันนั้นเป็นวันคำรบหกเวลาเย็น พระโพธิสัตว์จึ่งถวายบังคมลากลับไปยังที่พักของตนก่อน ฝ่ายหกกษัตริย์กับมหาชนมีอำมาตย์เป็นต้นพากันกล่าวว่า เจ้าเงาะป่ากล้ารับอาสาแก้ปัญหาและตีคลีกับพระอินทร์ได้ น่าอัศจรรย์นัก แล้วพากันสรรเสริฐพระโพธิสัตว์โดยประการต่าง ๆ ด้วยประกาฉะนี้
 
ครั้นรุ่งขึ้นเช้า เป็นวันที่คำรบเจ็ด พระเจ้ากรุงพาราณสีมีหฤทัยหวาดเสียวราวกะว่าจะแตกออกไปได้เจ็ดภาค จึ่งบังคับอำมาตย์ผู้หนึ่งให้ไปเรียกเจ้าเงาะมาเร็ว ๆ อำมาตย์ผู้นั้นรับราชดำรัสแล้วก็ไปบอกพระโพธิสัตว์ว่ พระราชารับสั่งให้หาตัวท่านไปเดี๋ยวนี้ พระโพธิสัตว์คิดว่า เวลานี้ควรเราจะเข้าไปเฝ้าพระราชา จึ่งบอกกะนางคันธาเทวีว่า เวลานี้ พี่จะไปเฝ้าพระราชบิดา จึ่งพานางคันธาเทวีมาเฝ้าด้วยกัน แล้วนั่งอยู่ ณ ที่อันสมควรส่วนหนึ่ง พระเจ้ากรุงพาณาสีทอดพระเนตรพระโพธิสัตว์นั่งอยู่พร้อมกับนางคันธาเทวีแล้ว ตรัสว่า พ่อเงาะจงแก้ปัญหาและตีคลีกับพระอินทร์แทนเรา ถ้าพ่อยังช้าเกินเวลาไปอีกนิดเดียว บิดาก็จักตายเดี๋ยวนี้
เส้น 556 ⟶ 561:
สมมติเทวา พระราชบิดาของพระองค์ทรงพระสำราญ หาโรคาพยาธิมิได้ แต่ทรงพระอาลัยระลึกถึงพระองค์ ทรงปริเทวนาการเป็นนิตย์ทุกวันมิได้ขาด สองกษัตริย์ทรงฟังดังนั้น ก็ทรงรับว่าจะเสด็จไปด้วยเสนาบดี
 
พระเจ้ากรุงพาราณสีทรงโสมนัส จึ่งรับสั่งพนักงานให้จัดพาหนะมีช้างม้าเป็นต้น แล้วมอบให้สองกษัตริย์เสร็จ คราวนั้น กษัตริย์สามพระองค์ คือ พระนางจันทาเทวี และพระสุวรรณสังข์ กับพระนางคันธาเทวี จึ่งพร้อมกันกราบทูลถวายบังคมลาพระเจ้าพาราณสี พระเจ้าพาราณสีทรงพระอาลัยในสองโอรส<ref>ควรว่า “บุตร” (ลูก) มากกว่า “โอรส” (ลูกชาย) เพราะหมายถึง พระสุวรรณสังข์ กับนางคันธาเทวี ''— [เชิงอรรถของ วิกิซอร์ซ]''</ref> นัก มิใคร่จักให้จากไป ทรงพิลาปร่ำไรแล้วประทานพรชัยว่า พระโอรสจงเสด็จไปครองราชย์สมบัติให้เป็นสุขแก่ชาวรัฐวาสี และรักษาขัตติยประเพณีโดยสุจริตเถิด สามกษัตริย์รับพระพรชัยแล้วถวายบังคม ออกมาบอกลามหาชนมีข้าหลวงชาวอภิรมย์เป็นต้นบรรดาที่มาคอยส่งเสด็จ ครั้นถึงฤกษ์งามตามเนมิตกาจารย์คำนวณถวายแล้ว จึ่งพร้อมกันเสด็จขึ้นประทับ ณ ราชอาสน์ เหล่าเสนามาตย์เหล่าจตุรงคเสนามีมหาเสนาบดีเป็นต้นพร้อมกันแห่นำตามเสด็จเป็นขบวนหน้าและหลัง โดยเสด็จแต่เมืองพาราณสีไปกระทั่งถึงพรหมบุรีรัฐ จึ่งได้ให้หยุดพวกพลนิกรจัดทำราชนิเวศนาสน์เสด็จประทับอยู่ในที่นั้น
 
ครั้นแล้ว มหาเสนาบดีจึ่งเข้าไปเฝ้ากราบทูลพระเจ้าพรหมทัตว่า พระมหาราช บัดนี้ พระราชโอรสของพระองค์เสด็จมาถึงรัฐประเทศนี้แล้วพระเจ้าข้า พระเจ้าพรหมทัตทรงพระโสมนัส ดำรัสสั่งให้พนักงานเอาเภรีไปตีประกาศว่า บัดนี้ พระสุวรรณสังขกุมาร โอรสของเรา มาถึงนครรัฐแล้ว เราจักออกไปรับโอรสให้เข้ามาครองราชสมบัติ ณ เมืองนี้ ชาวเมืองพาราณสีจึ่งพากันประดับมรรคาซึ่งจะเสด็จมาด้วยพวงดอกไม้เงินทองและพวงสุคนธมาลา สองฟากมรรคาก็ปักธงและแผ่นผ้ากับทั้งต้นกล้วยและอ้อยลำ ผูกขัดจัดประจำตามระวางเป็นจังหวะแลไสว ครั้นแล้ว พระเจ้าพรหมทัตพร้อมด้วยราชบริวารเสด็จออกไปต้อนรับสามกษัตริย์ยังที่ประทับ ณ พลับพลา สามกษัตริย์ทอดพระเนตรพระราชาเสด็จมาถึงพร้อมกันต้อนรับแล้วถวายบังคม
เส้น 601 ⟶ 606:
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 608 ⟶ 613:
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 615 ⟶ 620:
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
 
'''อหํ ภิกฺขเว ปุพฺเพ พาราณสิราชา อโหสิ''' ความว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ในกาลปางก่อน ตถาคตเกิดเป็นพระราชาพาราณสี พระราชาพาราณสีนั้นประสงค์จะถวายผ้าแก่ภิกษุสงฆ์ ทรงทราบว่า พวกพ่อค้าเขาเอาผ้าเนื้อดี ๆ มาจำหน่ายที่พระนครของพระองค์ จึ่งทรงตรัส<ref>ตามหลักภาษาปัจจุบัน ต้องใช้ว่า “ตรัส” อย่างเดียว ไม่ใช่ “ทรงตรัส” เพราะ “ตรัส” เป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องเติม “ทรง” ให้เป็นราชาศัพท์อีก อนึ่ง ผู้อ่านจะพบการใช้ทำนองนี้อีกในหลาย ๆ จุด เช่น ในตอนถัดมามีว่า “...ทรงกริ้วพวกพ่อค้า...” ''— [เชิงอรรถของ วิกิซอร์ซ]''</ref> ใช้ให้อำมาตย์ไปซื้อผ้ามาจากพ่อค้า ผ้าผืนหนึ่งราคาถึงแสนกหาปณะ พระราชาทอดพระเนตรผ้าผืนนั้นแล้วทรงซื้อไว้ ประทานราคาให้เท่าน้ำหนักทองคำหนักหนึ่ง พวกพ่อค้าผ้าจึ่งปรึกษากันว่า พระราชาประทานให้ราคาเท่าน้ำหนักทองคำหนักหนึ่งนี้ หาคู่ควรแก่ราคาผ้าผืนนี้ไม่ พวกเราจักขอให้พระราชาประทานราคาให้สมควรแก่ผ้าผืนนี้ พระราชาทรงทราบความข้อนั้นแล้วก็ทรงกริ้วพวกพ่อค้ามาก พวกพ่อค้าผ้ารู้ว่าพระราชากริ้ว ก็ไม่อาจขอขึ้นราคาผ้าอีกได้ จึ่งพากันกลับไปยังเมืองที่อยู่ของตน พระเจ้าพาราณสีนั้น ครั้นจุติจากอัตภาพนั้นแล้ว ได้มาเกิดเป็นสุวรรณสังขกุมาร และได้เป็นลูกเขยแห่งพระเจ้าพาราณสี พวกพ่อค้านั้น ครั้นจุติจากอัตภาพนั้นแล้ว ได้มาเกิดเป็นหกกษัตริย์ลูกเขยพระเจ้าพาราณสี หกกษัตริย์นั้นชวนกันประทุษร้ายตถาคต ทูลยุยงให้พระราชาฆ่าตถาคต ด้วยบาปกรรมที่ตถาคตข่มเหงเขาซื้อผ้าลดราคาด้วยประการฉะนี้
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
เส้น 629 ⟶ 634:
 
 
{{r|8em}}
<center>_______________</center>
 
 
 
<center>{{c|จบสุวรรณสังขชาดก</center>}}
 
 
เส้น 640 ⟶ 645:
 
<div id="ปกหลัง/>
{{center|{{color|grey|{{font-size|85%pb2|label=ปกหลัง}}}}}}
{{fs|85%|[[#๑|ขึ้น]]}}
{{ผู้ใช้:Aristitleism/Page break}}
{{font-size|85%|[[สุวรรณสังขชาดก#๑|ขึ้น]]}}
 
 
เส้น 648 ⟶ 652:
 
 
<center><big>{{c|พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร</big></center>}}
 
 
<center>{{c|{{fs|90%|ตำบลถนนราชบพิธ จังหวัดพระนคร</center>}}}}
 
 
<center>{{c|{{fs|90%|วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๑</center>}}}}
 
 
เส้น 661 ⟶ 665:
 
== เชิงอรรถ ==
<div style="clear:both; font-size:90%;">
=== เชิงอรรถดั้งเดิม ===
</div>
{{smr}}
 
<div style="clear:both; font-size:90%;">
=== เชิงอรรถของวิกิซอร์ซ ===
 
{{fs|120%|{{note label|reference_name_ก|ก|ก}}}} ย่อหน้านี้มาจาก จริยาปิฎก (เชิงอรรถต้นฉบับว่า "แต่หน้า ๑๐ บรรทัดที่ ๘ ถึงหน้า ๑๑ บรรทัดที่ ๒ เป็นความในจริยาปิฎก")
{{reflist}}
</div>
 
 
เส้น 668 ⟶ 680:
 
 
----
{{ท้ายเรื่อง}}
----
{{ลิขสิทธิ์งานดัดแปลง-ดัดแปลง–ไทย}}
 
[[หมวดหมู่:งานแปล]]