ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำรานพรัตน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "PB" → "pb2|label=" +แทนที่ "rule|10" → "r|8" +แทนที่ "“" → """ +แทนที่ "”" → """ ด้วยสจห.
บรรทัดที่ 1:
{{คุณภาพเนื้อหา|75%}}
{{หัวเรื่อง2
| ชื่อเรื่อง = ตำรานพรัตน์
| ชื่อเรื่องย่อย =
| วิกิพีเดียชื่อเรื่อง =
| พระราชนิพนธ์ =
| พระนิพนธ์ =
| ผู้แต่ง =
| ผู้แต่งไม่ลิงก์ = สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) และพวก (ชำระ)
| วิกิพีเดียผู้แต่ง =
| ผู้แปล =
| เรื่องก่อนหน้า =
| เรื่องถัดไป =
| ก่อนหน้า =
| ถัดไป =
| หมายเหตุ = {{รุ่น}}
}}
{{รุ่น}}
 
{{pb2|label=ปก}}
 
 
 
 
{{อักขระพิเศษ}}
 
 
 
 
 
{{c|{{fs|85%|{{color|grey|ปก}}}}}}
{{PB}}
 
 
เส้น 39 ⟶ 20:
 
 
{{ruler|10em8em}}
 
 
เส้น 62 ⟶ 43:
 
 
{{ruler|10em8em}}
 
 
เส้น 73 ⟶ 54:
 
 
{{pb2|๕}}
{{c|{{fs|85%|{{color|grey|หน้า ๕}}}}}}
{{PB}}
 
 
เส้น 80 ⟶ 60:
 
 
{{c|{{fs|120130%|คำนำ}}}}
 
 
เส้น 86 ⟶ 66:
 
 
หนังสือนี้เป็นตำราว่าด้วยแก้วเก้าประการ สมควรมีนามว่า "ตำรานพรัตน์”นพรัตน์" เข้าใจว่า เป็นสำเนาหนังสือที่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ครั้งยังเป็นพระยาสุริยวงศมนตรี ได้สอบสวนพร้อมด้วยผู้มีนามในหนังสือนั้น แล้วนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ครั้นสมเด็จเจ้าพระยาถึงพิราลัยแล้ว คุณหญิงเนิ่น บุนนาค ต.จ. ผู้ธิดา ได้เก็บรักษาไว้ และเมื่อคุณหญิงเนิ่น บุนนาค ต.จ. ถึงแก่กรรมแล้ว ได้ตกมาเป็นหนังสือห้องสมุดวังบางขุนพรหม กรุงเทพฯ
 
เมื่อได้พิจารณาหนังสือนี้ดูรู้สึกว่า เป็นเรื่องที่ไม่ชวนอ่าน แต่ก็เห็นว่า เป็นตำนานที่ควรจะรักษาให้มีไว้ เพราะเรายังนับถือว่า แก้วเก้าประการเป็นของมีสิริมงคลสำคัญอยู่ แต่ภาษาบางแห่ง เช่น ชื่อวัตถุแลประเทศ เป็นต้น ล่วงสมัยจนไม่อาจยึดถือเป็นแน่นอนลงได้ ทั้งนี้ ก็เพราะไม่มีผู้ใดได้สอบสวนประกอบอันเนื่องมาจากต้นฉบับไม่แพร่หลายเป็นมูล ถ้าได้จัดพิมพ์ขึ้นไว้ให้แพร่หลายแล้วก็มีทางที่จะกลับเป็นผลแก้เหตุนั้นในภายหน้า จึงนับว่าไม่ไร้ประโยชน์
เส้น 96 ⟶ 76:
 
 
: {{fs|120%|น.ท. พระแสงสิทธิการ}}
: วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๔
 
: วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๔
 
 
 
 
{{c|{{fs|85%|{{color|grey|หน้า ๗-๒๖ (หน้า ๑-๒๓)}}}}}}
{{PB}}
 
{{cpb2|{{fs|85%|{{color|grey|หน้า ๗-๒๖ (หน้า ๑-๒๓)}}}}}}
 
 
เส้น 123 ⟶ 102:
เพชรประถมชาติมีคุณพิเศษห้าประการ ชื่อว่า ขัตติยชาติ นั้นมีน้ำแดงดังผลตำลึงสุก เมื่อพิจารณาดูในผลนั้นมีรัศมีขาว เหลือง ดำ เขียว รุ้งกินน้ำ เมื่อส่องดูด้วยแดดเป็นดวงแล่นออกจาเหลี่ยมเป็นสีเบญจรงค์ด้านละแปดดวง ผู้ใดถือเพชรขัตติยชาติแม้สกุลไพร่จะได้เป็นนาย นายจะได้เป็นขุน ขุนจะได้ครองเมือง ถ้าวงศาพระยาจะได้เป็นกระษัตริย์ กระทำสงครามจะมีชัยชนะแก่ข้าศึกปราบศัตรูพ่ายแพ้ทุกทิศ ให้ผูกเรือนธำมรงค์ทรงใส่นิ้วชี้เบื้องขวา เป็นเพชรประถมชาติประการหนึ่ง
 
เพชรชื่อ สมณชาติ มีพรรณเหลืองดังน้ำมันไก่ พิจารณาดูในผลมีรัศมีแดง เขียว ขาว ดำ หงสิบบาท<ref>เข้าใจว่า “หงสบาท”"หงสบาท" ม. มีคล้ายเท้าหงส์ คือ สีแดงเรื่อ หรือสีแสดก็ว่า</ref> ครั้นส่องดูด้วยแดดเห็นแสงทอกันดังแสงตะวันเมื่อเที่ยงเป็นช่วงแล่นออกจากเหลี่ยนหลายสีเป็นเบญจรงค์ทุกด้าน เพชรดังนี้มีราคาจะคณนามิได้ ให้ผูกเรือนแหวนถือนิ้วชี้มือเบื้องขวาจะจำเริญสุขสมบัติสมบูรณ์ด้วยอานุภาพเพชรอันมีคุณพิเศษ เป็นเพชรประถมชาติประการสอง
 
เพชรชื่อ พราหมณชาติ นั้นมีพรรณขาวช่วง พิจารณาดูในผลมีรัศมีแดง ดำ เหลือง เขียว หงสิบบาท ครั้นส่องต้องแสงตะวันแสงทอกันดังแสงพระอาทิตย์เมื่อเที่ยง เพชรดังนี้ดีนักจะคณนาค่ามิได้ ให้ถือนิ้วชี้ขวา สมบัติจะไหลมาสู่ ศัตรูทำร้ายมิได้ เป็นเพชรประถมชาติประการสาม
เส้น 223 ⟶ 202:
 
 
{{cpb2|{{fs|85%|{{color|grey|หน้า ๒๖ (หน้า ๒๓)}}}}}}
{{PB}}
 
 
เส้น 310 ⟶ 288:
 
[[หมวดหมู่:ร้อยแก้วในสมัยรัตนโกสินทร์]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:งานไม่ทราบผู้สร้างสรรค์]]
[[หมวดหมู่:โสภณพิพรรฒธนากร]]
[[หมวดหมู่:งานที่มีอักขระพิเศษ]]