ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำนำประชุมพงศาวดารภาคที่ ๒๒"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สร้างหน้าด้วย "( ผ.ท.บ.) นายพันโท พระฤทธิรณจักร์ ( กรับ โฆษะโยธิน ) ถึงแก่..."
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
[[ไฟล์:Phra Ritthiranachakra (Krap Gosayodhin)|thumb|center|<p align=right>(ผ.ท.บ.)</p><br/><center>นายพันโท พระฤทธิรณจักร์ (กรับ โฆษะโยธิน)<br/>ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ,ศ, ๒๔๖๔<br/>อายุ ๓๘ ปี</center>]]
( ผ.ท.บ.)
นายพันโท พระฤทธิรณจักร์ ( กรับ โฆษะโยธิน )
ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ,ศ, ๒๔๖๔
อายุ ๓๘ ปี
 
=== คำนำ ==
นางนกแก้ว ฤทธิรณจักร จะทำการปลงศพนายพันโท พระ ฤทธิรณจักร ( กรับ โฆษะโยธิน ) ราชองครักษ์ สามี ปรารถนาจะพิมพ์หนังสือเป็นเปนของแจกในการกุศลสักเรื่อง ๑ มอบธุระให้สามเณร บุญยัง เพ็ชรประไพ ผู้เปนหลาน มาแจ้งความณหอพระสมุดวชิรญาณ สำหรับพระนคร ขอให้กรรมการช่วยเลือกเรื่องหนังสือในหอพระสมุด ฯ ให้ ข้าพเจ้าจึงเลือกหนังสือประชุมพงศาวดารภาคที่ ๒๒ อันเปน เรื่องพงศาวดารเมืองหัวพันห้าทั้งหก ให้นางนกแก้ว ฤทธิรณจักรฤทธิรณจักร พิมพ์ตามประสงค์
ที่เรียกว่าเมืองหัวพันห้าทั้งหกนี้เปนเมืองไทยหมู่ ๑ หลายเมือง ด้วยกันเรียกชื่อว่าเมืองหัวเมืองเมือง ๑ เมืองซำเหนือเมือง ๑ เมืองซำใต้เมือง ๑ เมืองซ่อนเมือง ๑ เมืองโสยเมือง ๑ เมืองเหยียบเมือง ๑ เมืองสบแอดเมือง ๑ เมืองเชียงค้อเมือง ๑ ตั้งอยู่ข้างเหนือเมืองหลวงพระบาง เรื่องราวของเมืองเหล่านี้ เดิมทีเดียวตั้งแต่ราว พ.ศ.๕๐๐ พวกชนชาติไทยตั้งต้นอพยบมาแต่แดนเดิมของตน คือที่เปนประเทศจีนฝ่ายใต้บัดนี้ มีมณฑลฮุนหนำแลมณฑลกุยจิ๋วเปนต้น มาเที่ยวหาที่ตั้งภูมิลำเนาอยู่เปนอิศระทางแดนข้างทิศตวันตก มาตั้งเปนบ้านเมืองขึ้นหลายแห่ง ครั้นจำเนียรกาลนานมาก็เกิดแว่นแคว้นแดนไทยขึ้นโดยลำดับ เปนหลายอาณาเขตรด้วยกัน ข้างตอนเหนือที่ ต่อแดนจีนเรียกว่าอาณาเขตรสิบสองเจ้าไทย ต่อไปทางทิศตวันตกเรียก ว่าอาณาเขตรสิบสองปันนา ต่อมาเมื่อพวกไทยมีกำลังมากขึ้น ก็ขยาย
 
ที่เรียกว่าเมืองหัวพันห้าทั้งหกนี้เปนเมืองไทยหมู่ ๑ หลายเมือง ด้วยกันเรียกชื่อว่าเมืองหัวเมืองเมือง ๑ เมืองซำเหนือเมือง ๑ เมืองซำใต้เมือง ๑ เมืองซ่อนเมือง ๑ เมืองโสยเมือง ๑ เมืองเหยียบเมือง ๑ เมืองสบแอดเมือง ๑ เมืองเชียงค้อเมือง ๑ ตั้งอยู่ข้างเหนือเมืองหลวงพระบาง เรื่องราวของเมืองเหล่านี้ เดิมทีเดียวตั้งแต่ราว พ.ศ.๕๐๐ พวกชนชาติไทยตั้งต้นอพยบมาแต่แดนเดิมของตน คือที่เปนประเทศจีนฝ่ายใต้บัดนี้ มีมณฑลฮุนหนำแลมณฑลกุยจิ๋วเปนต้น มาเที่ยวหาที่ตั้งภูมิลำเนาอยู่เปนอิศระทางแดนข้างทิศตวันตก มาตั้งเปนบ้านเมืองขึ้นหลายแห่ง ครั้นจำเนียรกาลนานมาก็เกิดแว่นแคว้นแดนไทยขึ้นโดยลำดับ เปนหลายอาณาเขตรด้วยกัน ข้างตอนเหนือที่ ต่อแดนจีนเรียกว่าอาณาเขตรสิบสองเจ้าไทย ต่อไปทางทิศตวันตกเรียก ว่าอาณาเขตรสิบสองปันนา ต่อมาเมื่อพวกไทยมีกำลังมากขึ้น ก็ขยายอาณาเขตรต่อออกไป พวก ๑ ไปตั้งบ้านเมืองอันได้นามปรากฎในชั้นหลังสืบมาว่าสิบเก้าเจ้าฟ้า อยู่ทางลุ่มแม่น้ำสละวินต่อแดนพม่าไทยพวกนี้ได้นามว่าไทยใหญ่ ฤๅที่เราเรียกกันในบัดนี้ว่าเงี้ยว ไทยอิกพวก ๑ ขยายอาณาเขตรลงมาทางลุ่มแม่น้ำโขงข้างทิศใต้ มาตั้งบ้านเมืองขึ้นเปน ๒ อาณาเขตร เรียกว่าลานช้าง อยู่ทางข้างตวันออก อาณาเขตร ๑ เรียกว่าลานนา อยู่ทางข้างตวันตก ( คือมณฑลภาคพายัพบัดนี้ ) อาณาเขตร ๑ ไทยพวกนี้ได้นามว่า ไทยน้อย ต่อมาพวกไทยน้อยในอาณาเขตรลานนาปราบปรามพวกขอมขยายเขตรแดนลงมาข้างใต้จนได้เปนใหญ่ในสยามประเทศนี้เมื่อราว พ.ศ.๑๘๐๐ ส่วน พวกไทยน้อยที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตรลานช้างนั้นก็ขยายแดนออกไปทางทิศตวันออกจนต่อแดนพวกจาม ทางทิศใต้ได้แดนขอมตอนแผ่นดินสูงข้างฝ่ายเหนือ ( คือท้องที่มณฑลอุดรบัดนี้ ) แล้วตั้งเปนกรุงกระษัตริย เรียกว่ากรุงศรีสัตนาคนหุต เอาเมืองเซ่า ( ซึ่งมาได้นามในชั้นหลังว่าเมืองหลวงพระบาง ) เปนราชธานี อาณาเขตกรุงศรีสัตนาคนหุตทางทิศเหนือต่อกับอาณาเขตรสิบสองเจ้าไทย เหล่าเมืองหัวพันห้าทั้งหก ( อันเรื่องพงศาวดารมีในสมุดเล่มนี้ ) อยู่ในระหว่างกรุงศรีสัตนาคนหุตกับเมืองสิบสองเจ้าไทย จึงตกมาเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีสัตนาคนหุตก่อน ต่อมาครั้นกรุงศรีสัตนาคนหุตมีอำนาจมากขึ้น แม้เมืองสิบสองเจ้าไทยก็ตกมาเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีสัตนานาคนหุตอย่างเดียวกัน เรื่องชั้นเดิมมีมาดังนี้ พวกชาวเมืองหัวพันห้าทั้งหกก็ยังเปนไทยแลพูดภาษาไทยอยู่จนทุกวันนี้
 
ครั้นกรุงศรีสัตนาคนหุตถึงคราวเสื่อมทรามลงโดยลำดับมาจนเมื่อราว พ.ศ. ๒๒๔๐ ราชวงศ์ที่ครองเมืองเกิดแตกกันเปน ๒ พวก ต่างปราบกันไม่ลง จึงยอมแยกกันเปน ๒ อาณาเขตร ฝ่ายหนึ่งตั้งเมืองหลวงพระบางเปนเมืองหลวงอยู่ทางตวันตก อิกฝ่ายหนึ่งตั้งเมืองเวียงจันท์เปนเมืองหลวงอยู่ทางตวันออก เมื่อแยกกันเช่นนี้กำลังแลอำนาจก็น้อยลงด้วยกัน บังคับบัญชาได้แต่เมืองขึ้นที่อยู่ใกล้เมืองหลวง แต่เมืองขึ้นที่อยู่ห่างออกไป เช่นเหล่าหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกเปนต้นนั้น ทั้งเจ้าเมืองเวียงจันท์แลเจ้าเมืองหลวงพระบางต่างถือว่าเปนเมืองขึ้นของตน แต่มิได้ปกครองมั่นคง เปนแต่แต่งข้าหลวงขึ้นไปตรวจตราเปนครั้งเปนคราว ข้าหลวงฝ่ายไหนขึ้นไปถึงพวกเจ้าเมืองท้าวขุนเมืองเหล่านั้นก็ฟังบังคับบัญชา จึงเปนเมืองขึ้น ๒ ฝ่ายมาช้า นาน จนกระทั่งเมืองหลวงพระบางแลเมืองเวียงจันท์เปนประเทศราชขึ้น ต่อกรุงสยาม ครั้นเมื่อพวกญวนซึ่งลงมาชิงเขตรแดนของพวกจามตั้งเปนประเทศญวนขึ้น แลพวกเม่งจูซึ่งมาได้เปนใหญ่ในแผ่นดินจีน ต่าง แผ่อำนาจแต่งข้าหลวงมาถึงหัวเมืองสิบสองเจ้าไทยแลหัวเมืองหัวพันห้า ทั้งหก พวกหัวเมืองเหล่านั้นก็ยอม “ทู้” ต่อญวนแลจีนดังเคยประพฤติ มาต่อกรุงศรีสัตนาคนหุตซึ่งแตกกันเปน ๒ ก๊ก ความปรากฏในรัชกาลที่ ๓ ว่าเมื่อเจ้าอนุผู้ครองเมืองเวียงจันท์เปนขบถต่อกรุงเทพ ฯ ได้ยอมยกหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกแลเมืองพวนให้เปนสิบบนญวน เพื่อจะขอกำลังอุดหนุน แต่ครั้งนั้นไทยปราบปรามพวกขบถได้ราบคาบจนจับตัว เจ้าอนุได้ พระบาทสมเด็จ ฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกอาณาเขตรเมืองเวียงจันท์เสีย พระราชทานเมืองหัวพันห้าทั้งหกให้เปนเมืองขึ้นของเมืองหลวงพระบางแต่นั้นมา มามีเหตุเกี่ยวข้องด้วยหัวเมืองเหล่านี้เกิดขึ้นอิกเมื่อคราวทัพฮ่อในรัชกาลที่ ๕ พวกฮ่อตั้งซ่องสุมกันในแดนจีนแล้วยกลงมาตีหัวเมืองสิบสองจุไทยแลเมืองพวน ครั้นได้เมืองเหล่านั้นไว้ในอำนาจแล้ว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๘ ฮ่อพวก ๑ ยกกองทัพลงมาทางเมืองเวียงจันท์ (ซึ่งเปนเมืองร้าง) หมายจะตีหัวเมืองในมณฑลอุดร ฮ่ออิกพวก ๑ ยกไปทางเมืองเมืองหัวพันห้าทั้งหก หมาย จะไปตีเมืองหลวงพระบาง พระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด ฯ ให้พระยามหาอำมาตย์ (ชื่น กัลยาณมิตร) กับพระยานครราชเสนี (กาจ สิงหเสนี) ยกกองทัพขึ้นไปปราบฮ่อทางเมืองเวียงจันท์ทาง ๑ ให้เจ้าพระยาภูธราภัย ที่สมุหนายก กับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (เวก บุณยรัตพันธุ์) ยกกองทัพขึ้นไปปราบฮ่อทางเมืองหลวงพระบางทาง ๑ ได้รบพุ่งกัน พวกฮ่อพ่ายแพ้ทั้ง ๒ ทางการก็สงบไปคราวหนึ่ง ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๔๒๖ พวกฮ่อกลับลงมาอิก มาตั้งค่ายมั่นที่ทุ่งเชียงคำในแขวงเมืองพวน แล้วยกกองทัพมาตีหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกอิกครั้ง ๑ จึงโปรด ฯ ให้พระยารณไชยชาญยุทธ (ครุธ) เมื่อยังเปนผู้ว่าราชการเมืองศุโขทัย กับพระยาพิไชย (มิ่ง) ยกกองทัพหัวเมืองขึ้นไปก่อน แล้วให้เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (เวก บุณยรัตนพันธุ์) เปนแม่ทัพยกตามขึ้นไปปราบฮ่อเปนครั้งที่ ๒ กองทัพยกขึ้นไปครั้งนี้ถึงได้ไปตั้งล้อมค่ายฮ่อที่ทุ่งเชียงคำ แต่พเอิญเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชไปถูกกระสุนปืนข้าศึกในเวลารบกัน การหาสำเร็จไม่ ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ จึงโปรดฯ ให้กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมเปนแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองหนองคายทาง ๑ ให้เจ้าพระยาสุรศักดิมนตรี (เจิม แสงชูโต) เมื่อยังเปนเจ้าหมื่นไวยวรนาถ เปนแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองหลวงพระบางทาง ๑ กองทัพทางกรมหลวงประจักษ์ยกขึ้นไปถึงเมืองพวน พวกฮ่อทิ้งเมืองหลบหนีไปไม่ต้องรบพุ่ง แต่กองทัพทางเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรียกขึ้นไปต้องรบกับพวกฮ่อในหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกหลายครั้ง พวกฮ่อจึงแตกหนีไปบ้างยอมสามิภักดิ์บ้าง เมื่อปราบปรามพวกฮ่อเรียบร้อยแล้ว กองทัพไทยตั้งอยู่ที่เมืองซ่อน เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีจึงมีคำสั่งให้ถามพวกเจ้าเมืองหัวพันห้าทั้งหกถึงเรื่องพงศาวดารของเมืองนั้น ๆ ตาม ที่รู้กันมาในพื้นเมือง แล้วจดส่งลงมากรุงเทพ ฯ กับใบบอก เดิมมีสำเนาอยู่ที่กระทรวงมหาดไทย หอพระสมุดฯ ได้ฉบับมาจึงได้พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ เพื่อให้ทราบเรื่องราวทั่วกันและรักษาไว้มิให้สูญเสีย.
(๒)
อาณาเขตรต่อออกไป พวก ๑ ไปตั้งบ้านเมืองอันได้นามปรากฎใน
ชั้นหลังสืบมาว่าสิบเก้าเจ้าฟ้า อยู่ทางลุ่มแม่น้ำสละวินต่อแดนพม่าไทยพวกนี้ได้นามว่าไทยใหญ่ ฤๅที่เราเรียกกันในบัดนี้ว่าเงี้ยว ไทยอิกพวก ๑ ขยายอาณาเขตรลงมาทางลุ่มแม่น้ำโขงข้างทิศใต้ มาตั้งบ้านเมืองขึ้นเปน ๒ อาณาเขตร เรียกว่าลานช้าง อยู่ทางข้างตวันออก อาณาเขตร ๑ เรียกว่าลานนา อยู่ทางข้างตวันตก ( คือมณฑลภาคพายัพบัดนี้ ) อาณาเขตร ๑ ไทยพวกนี้ได้นามว่า ไทยน้อย ต่อมาพวกไทยน้อยในอาณาเขตรลานนาปราบปรามพวกขอมขยายเขตรแดนลงมาข้างใต้จนได้เปนใหญ่ในสยามประเทศนี้เมื่อราว พ.ศ.๑๘๐๐ ส่วน พวกไทยน้อยที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตรลานช้างนั้นก็ขยายแดนออกไปทางทิศตวันออกจนต่อแดนพวกจาม ทางทิศใต้ได้แดนขอมตอนแผ่นดินสูงข้างฝ่ายเหนือ ( คือท้องที่มณฑลอุดรบัดนี้ ) แล้วตั้งเปนกรุงกระษัตริย เรียกว่ากรุงศรีสัตนาคนหุต เอาเมืองเซ่า ( ซึ่งมาได้นามในชั้นหลังว่าเมืองหลวงพระบาง ) เปนราชธานี อาณาเขตกรุงศรีสัตนาคนหุตทางทิศเหนือต่อกับอาณาเขตรสิบสองเจ้าไทย เหล่าเมืองหัวพันห้าทั้งหก ( อันเรื่องพงศาวดารมีในสมุดเล่มนี้ ) อยู่ในระหว่างกรุงศรีสัตนาคนหุตกับเมืองสิบสองเจ้าไทย จึงตกมาเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีสัตนาคนหุตก่อน ต่อมาครั้นกรุงศรีสัตนาคนหุตมีอำนาจมากขึ้น แม้เมืองสิบสองเจ้าไทยก็ตกมาเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีสัตนา
คนหุตอย่างเดียวกัน เรื่องชั้นเดิมมีมาดังนี้ พวกชาวเมืองหัวพันห้าทั้งหกก็ยังเปนไทยแลพูดภาษาไทยอยู่จนทุกวันนี้
 
(๓)
ครั้นกรุงศรีสัตนาคนหุตถึงคราวเสื่อมทรามลงโดยลำดับมาจนเมื่อ
ราว พ.ศ. ๒๒๔๐ ราชวงศ์ที่ครองเมืองเกิดแตกกันเปน ๒ พวก ต่างปราบกันไม่ลง จึงยอมแยกกันเปน ๒ อาณาเขตร ฝ่ายหนึ่งตั้งเมืองหลวงพระบางเปนเมืองหลวงอยู่ทางตวันตก อิกฝ่ายหนึ่งตั้งเมืองเวียงจันท์เปนเมืองหลวงอยู่ทางตวันออก เมื่อแยกกันเช่นนี้กำลังแลอำนาจก็น้อยลงด้วยกัน บังคับบัญชาได้แต่เมืองขึ้นที่อยู่ใกล้เมืองหลวง แต่เมืองขึ้นที่อยู่ห่างออกไป เช่นเหล่าหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกเปนต้นนั้น ทั้งเจ้าเมืองเวียงจันท์แลเจ้าเมืองหลวงพระบางต่างถือว่าเปนเมืองขึ้นของตน แต่มิได้ปกครองมั่นคง เปนแต่แต่งข้าหลวงขึ้นไปตรวจตราเปนครั้งเปนคราว ข้าหลวงฝ่ายไหนขึ้นไปถึงพวกเจ้าเมืองท้าวขุนเมืองเหล่านั้นก็ฟังบังคับบัญชา จึงเปนเมืองขึ้น ๒ ฝ่ายมาช้า นาน จนกระทั่งเมืองหลวงพระบางแลเมืองเวียงจันท์เปนประเทศราชขึ้น ต่อกรุงสยาม ครั้นเมื่อพวกญวนซึ่งลงมาชิงเขตรแดนของพวกจามตั้งเปนประเทศญวนขึ้น แลพวกเม่งจูซึ่งมาได้เปนใหญ่ในแผ่นดินจีน ต่าง แผ่อำนาจแต่งข้าหลวงมาถึงหัวเมืองสิบสองเจ้าไทยแลหัวเมืองหัวพันห้า ทั้งหก พวกหัวเมืองเหล่านั้นก็ยอม " ทู้ " ต่อญวนแลจีนดังเคยประพฤติ มาต่อกรุงศรีสัตนาคนหุตซึ่งแตกกันเปน ๒ ก๊ก ความปรากฎในรัชกาลที่ ๓ ว่าเมื่อเจ้าอนุผู้ครองเมืองเวียงจันท์เปนขบถต่อกรุงเทพ ฯ ได้ยอมยกหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกแลเมืองพวนให้เปนสิบบนญวน เพื่อจะขอกำลังอุดหนุน แต่ครั้งนั้นไทยปราบปรามพวกขบถได้ราบคาบจนจับตัว เจ้าอนุได้ พระบาทสมเด็จ ฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกอาณา
(๔)
เขตรเมืองเวียงจันท์เสีย พระราชทานเมืองหัวพันห้าทั้งหกให้เปนเมืองขึ้นของเมืองหลวงพระบางแต่นั้นมา มามีเหตุเกี่ยวข้องด้วยหัวเมืองเหล่านี้เกิดขึ้นอิกเมื่อคราวทัพฮ่อในรัชกาลที่ ๕ พวกฮ่อตั้งซ่องสุมกันในแดนจีนแล้วยกลงมาตีหัวเมืองสิบสองจุไทยแลเมืองพวน ครั้นได้เมืองเหล่านั้นไว้ในอำนาจแล้ว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๘ ฮ่อพวก ๑ ยกกองทัพลงมาทางเมืองเวียงจันท์ ( ซึ่งเปนเมืองร้าง ) หมายจะตีหัวเมืองในมณฑลอุดร ฮ่ออิกพวก ๑ ยกไปทางเมืองเมืองหัวพันห้าทั้งหก หมาย จะไปตีเมืองหลวงพระบาง พระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด ฯ ให้พระยามหาอำมาตย์ ( ชื่น กัลยาณมิตร ) กับพระยานครราชเสนี ( กาจ สิงหเสนี ) ยกกองทัพขึ้นไปปราบฮ่อทางเมืองเวียงจันท์ทาง ๑ ให้เจ้าพระยาภูธราภัย ที่สมุหนายก กับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช ( เวก บุณยรัตพันธุ์ ) ยกกองทัพขึ้นไปปราบฮ่อทางเมืองหลวงพระบางทาง ๑ ได้รบพุ่งกัน พวกฮ่อพ่ายแพ้ทั้ง ๒ ทางการก็สงบไปคราวหนึ่ง ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๔๒๖ พวกฮ่อกลับลงมาอิก มาตั้งค่ายมั่นที่ทุ่งเชียงคำในแขวงเมืองพวน แล้วยกกองทัพมาตีหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกอิกครั้ง ๑ จึงโปรด ฯ ให้พระยารณไชยชาญยุทธ ( ครุธ ) เมื่อยังเปนผู้ว่าราชการเมืองศุโขทัย กับพระยาพิไชย ( มิ่ง ) ยกกองทัพหัวเมืองขึ้นไปก่อน แล้วให้เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (เวก บุณยรัตนพันธุ์ ) เปนแม่ทัพยกตามขึ้นไปปราบฮ่อเปนครั้งที่ ๒ กองทัพยกขึ้นไปครั้งนี้ถึงได้ไปตั้งล้อมค่ายฮ่อที่ทุ่งเชียงคำ แต่พเอิญ
 
(๕)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชไปถูกกระสุนปืนข้าศึกในเวลารบกัน การหาสำเร็จไม่ ต่อมาถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ จึงโปรด ฯ ให้กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมเปนแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองหนองคายทาง ๑ ให้เจ้าพระยา
สุรศักดิมนตรี ( เจิม แสงชูโต ) เมื่อยังเปนเจ้าหมื่นไวยวรนาถ เปนแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองหลวงพระบางทาง ๑ กองทัพทางกรมหลวงประจักษ์ยกขึ้นไปถึงเมืองพวน พวกฮ่อทิ้งเมืองหลบหนีไปไม่ต้องรบพุ่ง แต่กองทัพทางเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรียกขึ้นไปต้องรบกับพวกฮ่อในหัวเมืองหัวพันห้าทั้งหกหลายครั้ง พวกฮ่อจึงแตกหนีไปบ้างยอมสามิภักดิ์บ้าง เมื่อปราบปรามพวกฮ่อเรียบร้อยแล้ว กองทัพไทยตั้งอยู่ที่เมืองซ่อน เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีจึงมีคำสั่งให้ถามพวกเจ้าเมืองหัวพันห้าทั้งหกถึงเรื่องพงศาวดารของเมืองนั้น ๆ ตาม ที่รู้กันมาในพื้นเมือง แล้วจดส่งลงมากรุงเทพ ฯ กับใบบอก เดิมมีสำเนาอยู่ที่กระทรวงมหาดไทย หอพระสมุด ฯ ได้ฉบับมาจึงได้พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ เพื่อให้ทราบเรื่องราวทั่วกันและรักษาไว้มิให้สูญเสีย.
 
<center>'''ประวัตินายพันโท พระฤทธิรณจักร'''</center>
 
 
 
อนึ่งเจ้าภาพได้จดหัวข้อเรื่องประวัตินายพันโท พระฤทธิรณจักร (กรับ โฆษะโยธิน) ส่งมา ขอให้เรียบเรียงไว้ให้ปรากฎอยู่ในหนังสือ นี้พอเปนที่รฤกแก่ญาติมิตรทั้งปวงด้วย เรื่องประวัติของนายพันโท พระฤทธิรณจักร มีเนื้อความดังนี้
 
นายพันโท พระฤทธิรณจักร ( กรับ โฆษะโยธิน ) ราชองครักษ์ ว,ล. จ,ช.จ, ม.ร, ว,ป,ร๔. ร,ร. ร,จ. รองผู้บังคับการกรมทหารรักษาวัง เกิดในรัชกาลที่ ๕ เมื่อปีวอก พ.ศ. ๒๔๒๗ บ้านเดิมอยู่ในแขวงจังหวัดสิงหบุรี ลงมาเล่าเรียนวิชาในกรุงเทพ ฯ แต่ยังเยาว์ เมื่อเรียนอักขรสมัยเบื้องต้นแล้วสมัคเข้าเปนนักเรียนนายร้อยทหารบก เล่าเรียนอยู่จนสอบไล่ได้ชั้นวิชาสำรองราชการ จึงออกจากโรงเรียนมารับราชการในกรมทหารบก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๖
(๖)
 
นายพันโท พระฤทธิรณจักร ( กรับ โฆษะโยธิน ) ราชองครักษ์ ว,ล. จ,ช.จ, ม.ร, ว,ป,ร๔. ร,ร. ร,จ. รองผู้บังคับการกรมทหารรักษาวัง เกิดในรัชกาลที่ ๕ เมื่อปีวอก พ.ศ. ๒๔๒๗ บ้านเดิมอยู่ในแขวงจังหวัดสิงหบุรี ลงมาเล่าเรียนวิชาในกรุงเทพ ฯ แต่ยังเยาว์ เมื่อเรียนอักขรสมัยเบื้องต้นแล้วสมัคเข้าเปนนักเรียนนายร้อยทหารบก เล่าเรียนอยู่จนสอบไล่ได้ชั้นวิชาสำรองราชการ จึงออกจากโรงเรียนมา
แรกรับราชการอยู่ในกรมทหารบกราบที่ ๑๑ มีตำแหน่งเปนนักเรียนทำการนายร้อยอยู่ ๒ ปี แล้วได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเปนนายร้อยตรี เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๘ ต่อมาได้เปนตำแหน่งนายเวรกรมทหารบกราบที่ ๑๑
รับราชการในกรมทหารบก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๖
 
แรกรับราชการอยู่ในกรมทหารบกราบที่๑๑มีตำแหน่งเปนนักเรียน
ทำการนายร้อยอยู่ ๒ ปี แล้วได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเปนนายร้อยตรี เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๘ ต่อมาได้เปนตำแหน่งนายเวรกรมทหารบกราบที่ ๑๑
ถึง พ.ศ. ๒๔๕๑ ได้เลื่อนยศเปนนายร้อยโท ต่อมาได้เปนผู้รั้งตำแหน่งผู้บังคับการกองร้อยที่ ๓ แล้วได้เปนนายร้อยเอกผู้บังคับการกองร้อยนั้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑
ถึง พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้รับเลือกมารับราชการในกรมทหารรักษาวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เปนตำแหน่งผู้บังคับการกองทหารรักษาพระราชวังดุสิต ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรมีบันดาศักดิ์เปนหลวงเผด็จสงคราม แลเปนราชองครักษ์ประจำเวร ต่อมาได้เปนผู้บังคับกองพันที่๓ ทหารรักษาพระราชวังซึ่งประจำอยู่ณพระราชวัง ดุสิต ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนยศขึ้นเปนนายพันตรี แลเลื่อนบันดาศักดิ์เปนจมื่นฤทธิรณจักร
 
ถึง พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้รับเลือกมารับราชการในกรมทหารรักษาวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เปนตำแหน่งผู้บังคับการกองทหารรักษาพระราชวังดุสิต ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรมีบันดาศักดิ์เปนหลวงเผด็จสงคราม แลเปนราชองครักษ์ประจำเวร ต่อมาได้เปนผู้บังคับกองพันที่๓ ทหารรักษาพระราชวังซึ่งประจำอยู่ณพระราชวัง ดุสิต ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนยศขึ้นเปนนายพันตรี แลเลื่อนบันดาศักดิ์เปนจมื่นฤทธิรณจักร
(๗)
 
ถึง พ.ศ.๒๔๕๙ ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนยศเปนนาย พันโท แลเลื่อนบันดาศักดิ์เปนพระฤทธิรณจักร แล้วย้ายนาที่มาเปนตำแหน่งรองผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระราชวัง ได้รับราชการในตำแหน่งนี้มาจนตลอดอายุ
 
พระฤทธิรณจักรได้สมัคเปนสมาชิกเสือป่า ได้รับพระราชทาน สัญญาบัตรเปนนายเสือป่า ตั้งแต่ยศนายหมู่ตรีเลื่อนขึ้นโดยลำดับจนถึงได้เปนนายหมวดโท เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗
ตลอดเวลาที่พระฤทธิรณจักรได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณมา
ได้พระราชทานเครื่องราชอิศริยาภรณ์เปนบำเหน็จความชอบ แล้วเลื่อนชั้นขึ้นหลายครั้ง เครื่องราชอิศริยาภรณ์ชั้นสูงซึ่งได้รับพระราชทานเปนที่สุดนั้น คือ วัลลภาภรณ์ ๑ จตุรถาภรณ์ช้างเผือก ๑ จตุรถาภรณ์ มงกุฏสยาม ๑ เหรียญรัตนาภรณ์ชั้นที่สี่ ๑ เหรียญราชรุจิทอง ๑ เหรียญจักรมาลา ๑ แลได้รับพระราชทานเข็มข้าหลวงเดิมกับเสมาทองชั้นที่ ๔ ด้วย นอกจากนี้ยังได้รับพระราชทานเหรียญในการพระราชพิธีตามบันดาศักดิ์ในรัชกาลก่อนแลรัชกาลปัตยุบันนี้อีกหลายอย่าง
พระฤทธิรณจักรป่วยถึงแก่กรรมที่บ้านเหนือท่าพระในจังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ คำนวณอายุได้ ๓๘ ปี
สิ้นเนื้อความตามประวัติของพระฤทธิรณจักรเพียงนี้.
 
ตลอดเวลาที่พระฤทธิรณจักรได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณมา ได้พระราชทานเครื่องราชอิศริยาภรณ์เปนบำเหน็จความชอบ แล้วเลื่อนชั้นขึ้นหลายครั้ง เครื่องราชอิศริยาภรณ์ชั้นสูงซึ่งได้รับพระราชทานเปนที่สุดนั้น คือ วัลลภาภรณ์ ๑ จตุรถาภรณ์ช้างเผือก ๑ จตุรถาภรณ์ มงกุฏสยาม ๑ เหรียญรัตนาภรณ์ชั้นที่สี่ ๑ เหรียญราชรุจิทอง ๑ เหรียญจักรมาลา ๑ แลได้รับพระราชทานเข็มข้าหลวงเดิมกับเสมาทองชั้นที่ ๔ ด้วย นอกจากนี้ยังได้รับพระราชทานเหรียญในการพระราชพิธีตามบันดาศักดิ์ในรัชกาลก่อนแลรัชกาลปัตยุบันนี้อีกหลายอย่าง
 
พระฤทธิรณจักรป่วยถึงแก่กรรมที่บ้านเหนือท่าพระในจังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ คำนวณอายุได้ ๓๘ ปี สิ้นเนื้อความตามประวัติของพระฤทธิรณจักรเพียงนี้.
 
 
(๘)
ข้าพเจ้าขออนุโมทนากุศลบุญราษีทักษิณานุปทานซึ่งนางนกแก้ว ฤทธิรณจักร ได้บำเพ็ญในการปลงศพนายพันโท พระฤทธิรณจักร ( กรับ โฆษะโยธิน ) ผู้สามี แลได้พิมพ์หนังสือเรื่องนี้ให้ได้อ่านกันแพร่หลาย หวังใจว่าบรรดาผู้ที่ได้รับหนังสือนี้ไปอ่านคงจะพอใจ และอนุโมทนาด้วยทั่วกันทุกคน.
 
สภานายก
หอพระสมุดวชิรญาณ