ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(5,133 × 7,266 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 27.18 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 97 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Royal Khmer Chronicle

ไทย: ราชพงศาวดารเขมร

 s:th:ราชพงษาวดารเขมร (2412)  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ชื่อเรื่อง
English: Royal Khmer Chronicle
ไทย: ราชพงศาวดารเขมร
image of artwork listed in title parameter on this page
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (1853–1910)  wikidata:Q158861 s:th:ผู้สร้างสรรค์:พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว q:th:พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ชื่ออื่น
Birth name: Chulalongkorn Bodindradeva Mahamongkut Burusayaratana Rajravivongse Varutamabhong Paripatra Sirivatana Rajakumar; Rama V; Phra Phuttha Chao Luang; the Royal Buddha; Prince Chulalongkorn; Chulalongkorn, Prince Binitprajanardh; Cuḷālaṅkaraṇa; King Rama V
คำอธิบาย เจ้าแผ่นดิน, นักการเมือง, เจ้าหน้าที่การทูต, นายทหาร, นักเขียน และ รัฐบุรุษ
วันเกิด/วันเสียชีวิต 20 กันยายน พ.ศ. 2396 แก้ไขที่วิกิสนเทศ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 แก้ไขที่วิกิสนเทศ
สถานที่เกิด/สถานที่เสียชีวิต พระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอัมพรสถาน
ระยะเวลาสร้างสรรค์งาน 2432 หรือ 2433 แก้ไขที่วิกิสนเทศ
สถานที่สร้างสรรค์งาน
งานควบคุมรายการหลักฐาน
creator QS:P170,Q158861
โรงพิมพ์
English: Royal Printer, Grand Palace, Bangkok
ไทย: โรงพิมพ์หลวงในพระบรมมหาราชวัง
คำอธิบาย
English: # Ratchaphongsawadan Khamen ("Royal Khmer Chronicle"), aka Phongsawadan Khamen ("Khmer Chronicle") and Phongsawadan Khamen Choso Phan Song Roi Sipchet ("Khmer Chronicle, 1217 LE"), is a Thai translation of a royal chronicle of Cambodia originally written in Khmer. The original Khmer manuscript was presented by King Duong of Cambodia to King Mongkut of Siam in an unknown year. King Mongkut had it translated into Thai by a committee led by a Siamese nobleman titled Khun Sunthonwohan, assistant chief of the Scribal Department. The translation was done in the Year of the Rabbit, 1217 LE (2398 BE, 1855/56 CE). King Chulalongkorn of Siam had the Royal Printer publish the translation for the first time as this book. The translation was printed for the second time by Watcharin Borisat Printer in 2445 BE (1902/03 CE) and was printed for the third time by the Thai Printer in 2457 BE (1914/15 CE) as part of the Collection of Historical Archives: Volume 1.
  1. A study by Santi Phakdikham, an associate professor at Srinakharinwirot University, found that the mentioned original Khmer document is Phraratchaphongsawadan Kamphucha Chabap Ok-ya Wongsasanphet (Nong) ("Royal Chronicle of Cambodia: Version by Ok-ya Wongsasanphet (Nong) [who is known in Khmer as 'Ukana Vansa Sarbejn (Nan)']"), aka Raba Kasat (known in Khmer as 'Rapa Ksatr'), a royal chronicle of Cambodia revised in the year 2361 BE (1818 CE) during the reign of King Outey Reachea of Cambodia.
  2. Reference: Santi Phakdikham. (2016). "Khwamnam" [Preface]. In Prachum Phongsawadan Chabap Kanchanaphisek Lem Sipsong [Collection of Historical Archives: Golden Jubilee Version, Volume 12] (pp. 131–132). Bangkok: Krom Sinlapakon, Samnak Wannakam Lae Prawattisat [Department of Fine Arts, Office of Literature and History]. ISBN 974-9528-47-6. (In Thai).
ไทย:  : (๑) ราชพงศาวดารเขมร บ้างเรียก พงศาวดารเขมร และ พงศาวดารเขมร จ.ศ. ๑๒๑๗ ต้นฉบับเป็นภาษาเขมร นักองค์ด้วงถวายรัชกาลที่ ๔ ไม่ทราบปีที่ถวาย รัชกาลที่ ๔ ให้ขุนสุนทรโวหาร ผู้ช่วยราชการกรมพระอาลักษณ์ และคณะ แปลออกเป็นภาษาไทย แปลในปีเถาะ จ.ศ. ๑๒๑๗ (พ.ศ. ๒๓๙๘) รัชกาลที่ ๕ ให้โรงพิมพ์หลวงในพระบรมมหาราชวังพิมพ์ครั้งแรกเป็นหนังสือเล่มนี้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๒ ต่อมาโรงพิมพ์วัชรินทร์บริษัทพิมพ์เป็นครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ และครั้งที่สามพิมพ์เป็นส่วนหนึ่งของ ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ผู้พิมพ์ คือ โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส
(๒) ศานติ ภักดีคำ รองศาสตราจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศึกษาแล้วพบว่า ต้นฉบับภาษาเขมร คือ พระราชพงศาวดารกัมพูชา ฉบับออกญาวงศาสรรเพชญ (นง) หรือ รบากษัตริย์ ซึ่งชำระขึ้นในรัชกาลนักองค์จันท์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๑ (ค.ศ. ๑๘๑๘)
(๓) อ้างอิง: ศานติ ภักดีคำ. (๒๕๔๙). "ความนำ". ใน ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษกา เล่ม ๑๒ (น. ๑๓๑–๑๓๒). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 974-9528-47-6.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2411 หรือ 2412
publication_date QS:P577,+1869-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: ราชพงษาวดารเขมร. (๒๔๑๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์หลวงในพระบรมมหาราชวัง.
เวอร์ชันอื่น
2nd edition
3rd edition

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน23:15, 20 กุมภาพันธ์ 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:15, 20 กุมภาพันธ์ 25645,133 × 7,266, 97 หน้า (27.18 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{unknown author}} from {{th|1=สุนทรโวหาร, ขุน. (๒๔๑๒). ''ราชพงษาวดารเขมร''. กรุงเทพฯ: ม.ท.ป.}} with UploadWizard

1 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์