ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(677 × 1,014 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 37.46 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 378 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

ไทย: เอ๋งตี๋งห้าว  s:th:เอ๋งตี๋งห้าว  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
Unknown authorUnknown author
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
ไทย: เอ๋งตี๋งห้าว
เล่มที่ 1–9
โรงพิมพ์
English: Rat Charoen Printing House
ไทย: โรงพิมพ์ราษฎร์เจริญ
คำอธิบาย
English: A description is provided as follows:
  • Work: The name of the work is Eng Ting Hao (after a character in the work). The work is a comedic and satirical poem.
  • Authorship:
    • The original author used the pseudonym "Talok Wohan". Prince Damrong found that the pseudonym belonged to a man called "Nai Sem" (dates of birth and death unknown), who was a governor (private tutor) of Prince Kawiphot Supricha of Siam.
    • The preface of the present edition says the original manuscript containing this work was provided by "His Excellency Phra Phokkhahon" [possibly a typo referring to a Siamese nobleman, Phra Phokkhaphon (Thanomwong Singhara)], and the original work was then edited (by an unmentioned person) before being published as this edition. For this reason, the contents of this edition are perhaps different from the original version.
  • References & further reading
    • Kittichai Phinno. (2005). Eng Ting Hao. Retrieved 24 November 2022 from link. (In Thai).
    • Niyada Laosunthon. (2022). Eng Ting Hao: Sut-yot Khong Khwamhansa [Eng Ting Hao: The Top of All Comedies]. Retrieved 24 November 2022 from link. (In Thai).
ไทย: คำอธิบายมีดังนี้
  • งาน: งานนี้ชื่อ เอ๋งตี๋งห้าว (ตามที่ปรากฏในหนังสือ, สะกดแบบปัจจุบันคือ เอ๋งติ๋งห้าว) เป็นกลอนตลกและเสียดสี
  • ผู้สร้างสรรค์:
    • ผู้สร้างสรรค์ดั้งเดิมใช้นามแฝงว่า "ตลกโวหาร" กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสืบได้ความว่า เป็นนามแฝงของบุคคลชื่อ "นายเสม" (วันเกิดวันตายไม่ทราบ) ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงกรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา
    • คำนำของฉบับนี้ระบุว่า ได้ต้นฉบับมาจาก "คุณพระโภคหล" [อาจพิมพ์ผิดจากและหมายถึง พระโภคผล (ถนอมวงศ์ สิงหรา)] แล้วนำมาแก้ไขเพิ่มเติม (แต่ไม่ระบุว่า ใครเป็นผู้แก้ไขเพิ่มเติม) เพราะฉะนั้น เนื้อหาฉบับนี้คงแตกต่างจากฉบับดั้งเดิม
  • อ้างอิงและอ่านเพิ่ม
    • กิตติชัย พินโน. (๒๕๕๘). เอ๋งติ๋งห้าว. สืบค้นเมื่อ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ จาก ลิงก์.
    • นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๖๕). เอ๋งติ๋งห้าว: สุดยอดของความหรรษา. สืบค้นเมื่อ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ จาก ลิงก์.
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2465 หรือ 2466
publication_date QS:P577,+1923-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: เอ๋งตี๋งห้าว เล่ม ๑–๙. (๒๔๖๖). พระนคร: โรงพิมพ์ราษฎร์เจริญ. [ทำเป็นดิจิทัลโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)].
การอนุญาต
(การใช้ไฟล์นี้ใหม่)

Rationale: This work is now in public domain because the authors are not known and at least 50 years have passed since its first publication, according to section 20 of Thailand's Copyright Act, 2537 BE (1994 CE).

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน17:22, 24 พฤศจิกายน 2565รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 17:22, 24 พฤศจิกายน 2565677 × 1,014, 378 หน้า (37.46 เมกะไบต์)YURiUploaded a work by {{unknown author}} from {{th|1=''เอ๋งตี๋งห้าว เล่ม ๑–๙''. (๒๔๖๖). พระนคร: โรงพิมพ์ราษฎร์เจริญ. [ทำเป็นดิจิทัลโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)].}} with UploadWizard

1 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์