ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(854 × 1,206 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 4.29 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 113 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

th:สำเนาจดหมายเหตุ เรื่อง ส่งทูตไทยไปกรุงโรม ครั้งที่ 2 ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q689721
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Copies of the Records Regarding the Second Thai Embassy Sent to Rome in the Reign of King Narai the Great
ไทย: สำเนาจดหมายเหตุ เรื่อง ส่งทูตไทยไปกรุงโรม ครั้งที่ ๒ ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q689721
โรงพิมพ์
English: Sayam Phanitchayakan Printing House
ไทย: โรงพิมพ์สยามพณิชยการ
คำอธิบาย
English:

"In 2473 BE [1930/31 CE], HRH Prince Damrong Rajanubhab paid a visit to European countries, during which he had an audience with Pope Pius XI in Rome. The pope had copies of the records about the second Thai embassy accredited to Rome during the reign of King Narai the Great made and presented to him. As regards the original documents from which the copies were made at the behest of the pope, some are in Latin, some are in Old Italian. Upon his return to Bangkok, the prince requested Salesian priests established in Ratchaburi province and the high priest Chorin of Bangkok to help translate them into English, and Phraya Inthramontri also helped therein. Once the translations were finished, the prince granted them to the National Library.

"Later in this year of 2475 BE [1932/33 CE], His Majesty the King was pleased to sponsor the cremation for members of the royalty at the crematorium of Wat Thep Sirinthrawat... He would like to have books published as tokens thereof... Prince Damrong suggested these documents, which met his approval."

—Preface
ไทย:

"พ.ศ. ๒๔๗๓ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จไปประพาสประเทศยุโรป ได้เสด็จไปเฝ้าโป๊ปปิอุสที่ ๑๑ ที่กรุงโรม โป๊ปได้โปรดให้คัดจดหมายเหตุเรื่องส่งทูตไทยไปกรุงโรม ครั้งที่ ๒ ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถวาย ต้นหนังสือที่โป๊ปโปรดให้คัดถวายนั้นเป็นภาษาลาตินบ้าง ภาษาอิตาเลียนโบราณบ้าง เมื่อสมเด็จกรมพระยาฯ เสด็จกลับกรุงเทพฯ แล้ว ได้ทรงวานบาทหลวงคณะเซลาเชียนซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดราชบุรี และบาทหลวงโชแรงที่กรุงเทพฯ ให้ช่วยแปลเป็นภาษาอังกฤษ และวานพระยาอินทรมนตรีให้ช่วยอีกชั้นหนึ่ง เสร็จแล้วประทานไว้ในหอพระสมุดสำหรับพระนคร

มาใน พ.ศ. ๒๔๗๕ นี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพเจ้านายที่พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส... ทรงใคร่พิมพ์หนังสือเป็นที่ระลึก... สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ ทรงแนะถึงหนังสือเรื่องนี้ ก็ทรงเห็นชอบด้วย"

—คำนำ
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2474 หรือ 2475
publication_date QS:P577,+1932-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: ราชบัณฑิตยสภา. (๒๔๘๕). สำเนาจดหมายเหตุ เรื่อง ส่งทูตไทยไปกรุงโรม ครั้งที่ ๒ ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช. พระนคร: โรงพิมพ์สยามพณิชยการ. [พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา โปรดให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ณพระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส ปีวอก พ.ศ. ๒๔๗๕].

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน00:51, 21 สิงหาคม 2566รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 00:51, 21 สิงหาคม 2566854 × 1,206, 113 หน้า (4.29 เมกะไบต์)YURiUploaded a work by {{institution:Royal Society of Thailand}} from {{th|1=ราชบัณฑิตยสภา. (๒๔๘๕). ''สำเนาจดหมายเหตุ เรื่อง ส่งทูตไทยไปกรุงโรม ครั้งที่ ๒ ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช''. พระนคร: โรงพิมพ์สยามพณิชยการ. [พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา โปรดให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ณพระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส ปีวอก พ.ศ. ๒๔๗๕].}} with UploadWizard

ไม่มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้

ข้อมูลอภิพันธุ์