ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 6/อธิบายประกอบ

งานที่อ้างถึง แก้ไข

การอ้างถึง ได้แก่
จดหมายเหตุของปิ่นโตโปจุเกต
พงษาวดารกรุงสยาม ฝรั่งเศสชื่อ เตอแปง เก็บความจากจดหมายเหตุของบาตหลวงครั้งกรุงเก่า แต่งไว้
พงษาวดารพม่า หลวงไพรสณฑ์สาลารักษ์ (เทียน สุพินทุ) แปลจากภาษาพม่าเปนภาษาอังกฤษ Phraison Salarak (Thien Subindu), Luang. (1916). "Intercourse between Burma and Siam as recorded in Hmannan Yazawindawgyi". Journal of the Siam Society, 11.3(1914–15), 1–67. (In English).

วัน แก้ไข

การอ้างถึง ได้แก่ ตรงกับ หมายเหตุ
เดือน 5 ขึ้น 7 ค่ำ วันขึ้น 7 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา สัปตศก จ.ศ. 947 วันพุธที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2128[1]
เดือน 12 ข้างแรม ในปีนั้น วันอังคาร แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีขาล โทศก จ.ศ. 952 วันจันทร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2133[2]
วัน 1 7 วันพฤหัสบดี ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[1] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ เดือน 6[1]
วัน 8 7 วันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 7 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[1] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 7 ค่ำ[1]
วัน 10 4 วันจันทร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2130[3]
วัน 10 3 วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 3 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2130[3]
วัน 10 4 วันอังคาร แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันอังคารที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2130[3]
วัน 10 6 วันศุกร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2130[1] คำนวณได้เป็นวันแรม 9 ค่ำ[1]
วัน 14 5 วันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน นพศก จ.ศ. 949 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 ว่า (1) ที่จริงควรยังเป็นปีจอ จ.ศ. 948 เพราะปีกุน จ.ศ. 949 เถลิงศกวันศุกร์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 6 (2) ถ้ายังเป็นปีจอ จ.ศ. 948 อยู่ จะตรงกับวันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2130[1]
วัน 1 3 1 ปีมะแม จุลศักราช 957 พ.ศ. 2138 วันอาทิตย์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะแม สัปตศก จ.ศ. 957 วันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2138[4]
วัน 1 9 2 ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราช 954 พ.ศ. 2135 วันอาทิตย์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จัตวาศก จ.ศ. 954 วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2135[2]
วัน 1 13 8 วันอาทิตย์ แรม 13 ค่ำ เดือน 8 ปีขาล โทศก จ.ศ. 952 วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133[2]
วัน 2 2 2 วันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จัตวาศก จ.ศ. 954 วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2135[2]
วัน 2 2 8 ค่ำ ปีจอ จุลศักราช 1128 พ.ศ. 2309 วันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 8 ปีจอ อัฐศก จ.ศ. 1128 จดหมายเหตุโหร ว่า เป็น วันจันทร์ แรม 9 ค่ำ เดือน 8 ปีจอ อัฐศก จ.ศ. 1128 ซึ่งตรงกับวันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2309[5]
วัน 3 9 5 ค่ำ ปีกุญ จุลศักราช 1129 พ.ศ. 2310 วันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน นพศก จ.ศ. 1129 วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310[5] วันนั้นยังเป็นปีจอ จ.ศ. 1128 (ยังไม่ขึ้นปีกุน จ.ศ. 1129)[5]
วัน 4 7 1 ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราช 954 พ.ศ. 2135 วันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะโรง จัตวาศก จ.ศ. 954 พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ว่า เป็นวันศุกร์ แรม 2 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จัตวาศก จ.ศ. 954 ซึ่งตรงกับวันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2135[2]
วัน 4 10 4 วันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เอกศก จ.ศ. 961 วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2142[4]
วัน 5 3 2 ค่ำ ปีมะโรง จุลศักราช 966 พ.ศ. 2147 วันพฤหัสบดี แรม 3 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง ฉศก จ.ศ. 966 วันพฤหัสบดีที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2147[6] คำนวณได้เป็นวันแรม 2 ค่ำ[6]
วัน 5 11 1 ค่ำ ปีกุญ จุลศักราช 961 พ.ศ. 2142 วันพฤหัสบดี ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน เอกศก จ.ศ. 961 วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2142[4]
วันอาทิตย์ เดือน 11 แรม 9 ค่ำ ปีมะเส็ง จุลศักราช 931 พุทธศักราช 2112 น่าจะเป็นการพิมพ์ผิด เทียบ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ ที่ระบุว่า เป็นวันอาทิตย์ แรม 11 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเส็ง เอกศก จ.ศ. 931 ซึ่งตรงกับวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2112 ทั้งนี้ คำนวณได้เป็นวันแรม 10 ค่ำ[7]

อื่น ๆ แก้ไข

การอ้างถึง ได้แก่
ตี 11 5 นาฬิกา ตามระบบ 24 ชั่วโมง
ฟิลิบเดอบริโต Filipe de Brito e Nicote
เรด "raid" ในภาษาอังกฤษ

เชิงอรรถ แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข

บรรณานุกรม แก้ไข

  • ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. (2542). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9744192151.