ผู้ใช้:Suisse/2
บรรดาผู้แทนแห่งประชาชนชาวฝรั่งเศส ที่ได้รวมตัวกันเป็นสมัชชาแห่งชาติ พิจารณาแล้วว่าการไม่ตระหนักถึง การหลงลืม หรือการหมิ่นประมาทสิทธิของมนุษย์ เป็นสาเหตุเดียวที่ทำให้ประชาชนเดือดร้อนและรัฐบาลเสื่อมทรามลง จึงตัดสินใจชี้แจงและปฏิญาณเป็นพิธีการซึ่งสิทธิของมนุษย์ อันเป็นสิทธิโดยกำเนิด โอนมิได้ และศักดิ์สิทธิ์ so that that declaration, constantly present to all members of the social body, points out to them without cease their rights and their duties; so that the acts of the legislative power and those of the executive power, being at every instant able to be compared with the goal of any political institution, are very respectful of it; so that the complaints of the citizens, founded from now on simple and incontestible principles, turn always to the maintenance of the Constitution and to the happiness of all.
ด้วยเหตุนี้ สมัชชาแห่งชาติจึงยอมรับและประกาศ, ภายใต้การประทับอยู่ และการอุปถัมภ์ของพระผู้เป็นเจ้า, สิทธิของมนุษย์และของพลเมืองดังนี้:
มาตรา I - มนุษย์เกิดมาเป็นอิสระและมีสิทธิเท่าเทียมกัน Social distinctions can be founded only on the common utility.
มาตรา II - จุดประสงค์ของการสมาคมทางการเมืองใด ๆ เป็นไปเพื่อการอนุรักษ์สิทธิโดยกำเนิดและละเมิดมิได้ของมนุษย์ สิทธิเหล่านี้คืออิสรภาพ ทรัพย์สิน ความปลอดภัย และการต่อต้านการกดขี่
มาตรา III - อำนาจอธิปไตยโดยพื้นฐานเป็นของชาติ. หน่วยงานใด, บุคคลใด, จะใช้อำนาจที่ไม่ได้มาจากชาติมิได้.
มาตรา IV - อิสรภาพหมายถึงการกระทำสิ่งใดโดยไม่เป็นภัยต่อผู้อื่น: ดังนั้นการใช้สิทธิโดยกำเนิดของมนุษย์ผู้ใดถูกจำกัดอยู่ในกรอบเพียงแค่ให้ผู้อื่นได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน และกรอบเหล่านี้กำหนดได้โดยกฎหมายเท่านั้น
มาตรา V - กฎหมายมีสิทธิห้ามเพียงแค่การกระทำที่เป็นภัยต่อสังคมเท่านั้น สิ่งที่ไม่ถูกห้ามโดยกฎหมายจะถูกขัดขวางมิได้ และผู้ใดจะถูกบังคับให้กระทำสิ่งใดที่กฎหมายไม่บังคับมิได้
มาตรา VI - กฎหมายเป็นการแสดงออกถึงความต้องการโดยทั่วไป All the citizens have the right of contributing personally or through their representatives to its formation. It must be the same for all, either that it protects, or that it punishes. All the citizens, being equal in its eyes, are equally admissible to all public dignities, places and employments, according to their capacity and without distinction other than that of their virtues and of their talents.
มาตรา VII - มนุษย์ผู้ใดจะถูกกล่าวโทษ จับกุม หรือกักตัวมิได้ เว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายกำหนด และตามแบบแผนที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น ผู้ใดที่ solicit, ส่งคนออกไป กระทำการ หรือ cause to be carried out arbitrary orders, จักต้องถูกลงโทษ; แต่พลเมืองผู้ใดถูกหมายเรียกหรือจับกุมภายใต้เงื่อนไขแห่งกฎหมาย จักต้องปฏิบัติตาม ณ บัดนั้น และการขัดขืนเป็นสิ่งที่มีผิด
มาตรา VIII - กฎหมายควรที่จะกำหนดโทษเท่าที่จะเป็น strictly evidently เท่านั้น และผู้ใดจะถูกลงโทษ no one can be punished but under a law established and promulgated before the offense and [which is] legally applied.
มาตรา IX - Any man being presumed innocent until he is declared culpable, if it is judged indispensible to arrest him, any rigor [i.e., action] which would not be necessary for the securing of his person must be severely reprimanded by the law.
มาตรา X - ห้ามมิให้ถามผู้ใดเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้นั้น รวมถึงความคิดเห็นทางศาสนาด้วย เมื่อการมีความคิดเห็นนั้นไม่ส่งผลต่อความเป็นระเบียบของสาธารณะ ซึ่งได้กำหนดโดยกฎหมายไว้แล้ว
มาตรา XI - การสื่อสารทางความคิดและความคิดเห็นโดยเสรี เป็นหนึ่งในสิทธิที่ล้ำค่าที่สุดของมนุษย์: ดังนั้นพลเมืองจักพูด เขียน และพิมพ์ได้อย่างเสรี save [if it is necessary] to respond to the abuse of this liberty, in the cases determined by the law.
มาตรา XII - The guarantee of the rights of man and of the citizen necessitates a public force [i.e., a police force]: this force is thus instituted for the advantage of all and not for the particular utility of those to whom it is confided.
มาตรา XIII - For the maintenance of the public force and for the expenditures of administration, a common contribution is indispensable; it must be equally distributed between all the citizens, by reason of their faculties [i.e., ability to pay].
มาตรา XIV - Each citizen has the right of noting, by himself or through his representatives, the necessity of the public contribution, of free consent, of following the employment [of the contributions], and of determining the quotient [i.e., the share], the assessment, the recovering [i.e., the collecting] and the duration.
มาตรา XV - สังคมมีสิทธิที่จะเรียกร้องบัญชีของหน่วยงานสาธารณะใด ๆ ที่อยู่ภายใต้การบริหารของสังคมนั้น
มาตรา XVI - สังคมใดที่ไม่มีการรับประกันสิทธิ หรือไม่มีการกำหนดการแยกใช้อำนาจ ไม่ถือว่ามีรัฐธรรมนูญแม้แต่น้อย
มาตรา XVII - สิทธิครอบครองเป็นสิทธิอันละเมิดมิได้และศักดิ์สิทธิ์ ผู้ใดจะถูกกีดกันจากการใช้ส่วนตัวมิได้ if it is not when the public necessity, legally noted, evidently requires it, and under the condition of a just and prior indemnity [i.e., compensation].