กฎหมายไทย
กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย
พระมหากษัตริย์ ปี ร่างกฎหมาย การพิจารณา การออกเป็นกฎหมาย งานที่เกี่ยวข้อง หมายเหตุ
รัชกาลที่ 7 2476 "ร่างพระราชบัญญัติอากรมฤดกและการรับมฤดก พุทธศักราช 2476" พระราชบัญญัติอากรมฤดกและการรับมฤดก พุทธศักราช 2476 (ต้นฉบับภายนอก) สถานีย่อย ทรงขอให้เจาะจงว่า จะไม่เก็บอากรมฤดกจากทรัพย์สินของพระมหากษัตริย์[1]
2477 "ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาทหาร พุทธศักราช 2477" รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 28/2477 วันที่ 28 กันยายน 2477 (ต้นฉบับภายนอก) คำสั่งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 29 เมษายน 2478 พระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาทหาร พุทธศักราช 2477 สถานีย่อย ไม่ทรงเห็นชอบกับการยกเลิกพระราชอำนาจอนุมัติการประหารชีวิต[2]
"ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขวิธีพิจารณาความอาชญา พุทธศักราช 2477 (ฉะบับที่ 3)" พระราชบัญญัติแก้ไขวิธีพิจารณาความอาชญา พุทธศักราช 2477 (ฉะบับที่ 3) สถานีย่อย
"ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาชญา พุทธศักราช 2478 (ฉะบับที่ 6)" พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาชญา พุทธศักราช 2478 (ฉะบับที่ 6) สถานีย่อย
รัชกาลที่ 9 2517 "ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย" รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 52/2517 วันที่ 15 สิงหาคม 2517 (ต้นฉบับภายนอก) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 (ต้นฉบับ) สถานีย่อย ทรงให้เขียนคำปรารภให้สั้น[3] (ตัดข้อความเกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลาออก)
รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 61/2517 วันที่ 5 กันยายน 2517 (ต้นฉบับภายนอก) ทรงให้แก้ไขข้อกำหนดที่ให้ประธานองคมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา[3]
2535 "ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....)" รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 8/2535 วันที่ 24 มกราคม 2535 (ต้นฉบับภายนอก)
[4]
สถานีย่อย ไม่ทรงเห็นชอบการกำหนดวงเงินค่าสินไหมทดแทนที่สื่อมวลชนต้องชดใช้กรณีหมิ่นประมาทผู้อื่นโดยการโฆษณา[5]
2546 "ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ...." รายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 3/2546 วันที่ 26 พฤศจิกายน 2546 (ต้นฉบับภายนอก) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 (ต้นฉบับภายนอก) สถานีย่อย ทรงเห็นว่า มีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการใช้ถ้อยคำและการอ้างเลขมาตรา[6]
"ร่างพระราชบัญญัติเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 พ.ศ. ...." พระราชบัญญัติเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2547 (ต้นฉบับภายนอก) ทรงเห็นว่า บรรยายลักษณะเหรียญผิด[6]
รัชกาลที่ 10 2560 "ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช ...." สถานีย่อย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2560 สถานีย่อย ต้องการแก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระราชอำนาจ[7]

เชิงอรรถ

แก้ไข
  1. นภารัตน์ กิมทรง (2547, น. 10–12)
  2. นภารัตน์ กิมทรง (2547, น. 4–9)
  3. 3.0 3.1 วัชรา ไชยสาร (ม.ป.ป., น. 7)
  4. วัชรา ไชยสาร (ม.ป.ป., น. 7–8): ร่างพระราชบัญญัติตกไป เพราะสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่ยกขึ้นพิจารณาอีก
  5. วัชรา ไชยสาร (ม.ป.ป., น. 7–8)
  6. 6.0 6.1 วัชรา ไชยสาร (ม.ป.ป., น. 8)
  7. Reuters (2017)

บรรณานุกรม

แก้ไข