แม่แบบ:ลิงก์ตัวยก

{{{1}}}

Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[ดู] [แก้] [ประวัติ] [ล้างแคช]


วัตถุประสงค์

แก้ไข

ใช้สร้างตัวยกที่มีจุดตรึง (anchor point) และมีลิงก์ไปจุดตรึงจุดอื่น

วิธีใช้

แก้ไข

โค้ด

แก้ไข

โค้ดทั้งหมดมีดังนี้

{{ลิงก์ตัวยก|1=|2=|3=|4=|5=|ตรึง=|ปลายทาง=}}

คำอธิบายย่อ

แก้ไข
  • ช่อง 1 = ข้อความที่จะเป็นตัวยก
  • ช่อง 2 = ข้อความนำหน้า (นำหน้าชื่อจุดตรึงต้นทางและปลายทาง)
  • ช่อง 3 = ข้อความนำหน้าอีกชั้นหนึ่ง (สำหรับจุดตรึงต้นทาง)
  • ช่อง 4 = ข้อความนำหน้าอีกชั้นหนึ่ง (สำหรับจุดตรึงปลายทาง)
  • ช่อง 5 = ชื่อหน้าปลายทาง ในกรณีที่จุดตรึงปลายทางอยู่หน้าอื่น
  • ต้นทาง = สำหรับกรณีต้องการตั้งชื่อจุดตรึงต้นทางใหม่หมด นอกจากชื่ออัตโนมัติตามข้างต้น
  • ปลายทาง = สำหรับกรณีที่ต้องการระบุชื่อจุดตรึงปลายทางใหม่หมด นอกจากชื่ออัตโนมัติตามข้างต้น

คำอธิบายโดยละเอียด

แก้ไข

แม่แบบนี้จะสร้างจุดตรึงต้นทาง และลิงก์ไปยังจุดตรึงปลายทาง ผ่านข้อความที่เป็นตัวยก (ช่อง 1)

โดยใช้ข้อความที่เป็นตัวยก เป็นชื่อหลักของจุดตรึงต้นทาง แล้วกำหนดให้สร้างข้อความนำ เพื่อประกอบกันเป็นชื่อเฉพาะสำหรับจุดตรึง ทั้งต้นทางและปลายทาง (ช่อง 2)

ก่อนจะกำหนดให้สร้างข้อความนำอีกชั้นหนึ่ง เพื่อเป็นชื่อเฉพาะสำหรับจุดตรึงต้นทาง (ช่อง 3) และสำหรับจุดตรึงปลายทาง (ช่อง 4)

นอกจากนี้ ถ้าจุดตรึงปลายทางอยู่คนละหน้ากับจุดตรึงต้นทาง ก็กำหนดให้ระบุหน้าปลายทาง (ช่อง 5)

ข้างต้น คือ การกำหนดชื่อจุดตรึงโดยอัตโนมัติ แต่ถ้าต้องการกำหนดเป็นอย่างอื่นทั้งหมด ก็เปิดให้ทำโดย โดยช่องชื่อ "ต้นทาง" สำหรับจุดตรึงต้นทาง และช่องชื่อ "ปลายทาง" สำหรับจุดตรึงปลายทาง

หมายเหตุ

แก้ไข

แม่แบบนี้เพียงสร้าง (1) จุดตรึงต้นทาง และ (2) การลิงก์ไปยังจุดตรึงปลายทาง

แต่จะลิงก์ไปยังปลายทางได้ ต้องไปสร้างจุดตรึงที่ปลายทางอีกชั้นหนึ่ง อาจด้วย แม่แบบ:ตรึง หรือแม่แบบอื่น ๆ แล้วแต่สมควร

ตัวอย่าง

แก้ไข
ประโยค 1 ประโยค 2 ประโยค 3{{ลิงก์ตัวยก|ก|เชิงอรรถ-|ต้นทาง|ปลายทาง-}}
ประโยค 1 ประโยค 2 ประโยค3
อธิบาย
  • จะสร้างจุดตรึง "ก" ท้ายประโยค 3 ทำให้ลิงก์มาจุดตรึง "ก" นั้นได้ โดยจุดตรึง "ก" นั้นจะชื่อ "ต้นทาง-เชิงอรรถ-ก"
  • จะสร้างลิงก์จากจุดตรึง "ก" ไปยังจุดตรึงอีกแห่ง (จุดตรึงปลายทาง) โดยจุดตรึงปลายนั้นชื่อ "ปลายทาง-เชิงอรรถ-ก"