วัตถุประสงค์ แก้ไข

แม่แบบนี้ใช้แสดงว่า ข้อความในต้นฉบับนั้นไม่สามารถอ่านได้ อาจเพราะต้นฉบับชำรุด ลบเลือน ฯลฯ

แม่แบบนี้ยังอนุญาตให้เสนอข้อความที่น่าจะเป็นไปได้ แล้วจะแสดงเมื่อนำเคอร์เซอร์ไปวนบริเวณข้อความเดิมที่เป็นปัญหานั้น

แม่แบบนี้ เมื่ออยู่ในหน้า "หน้า:" จะปรากฏเป็นสีแดง (ตัวอย่าง หน้า:ข้อบังคับสำหรับกระบวนพิจารณาฯ พระยอดเมืองขวาง (ร.ศ. ๑๑๓ พ.ศ. ๒๔๓๗).pdf/2) แต่เมื่ออยู่ในหน้าหลัก จะปรากฏเป็นสีดำกลืนไป (ตัวอย่าง ข้อบังคับสำหรับกระบวนพิจารณาฯ พระยอดเมืองขวาง#๘๘)

แม่แบบนี้จะเพิ่มหน้าเข้าไปใน หมวดหมู่:หน้าที่มีข้อความอ่านไม่ออก

วิธีใช้ แก้ไข

การใช้โดยทั่วไป แก้ไข

ใส่แม่แบบนี้บริเวณที่มีข้อความอ่านไม่ออก

ตัวอย่าง
"ผู้ใหญ่หา{{อ่านไม่ออก}} ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"
ผลลัพธ์
"ผู้ใหญ่หาผ้า(ต้นฉบับตรงนี้อ่านไม่ออก) ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"

การเสนอข้อความที่น่าจะเป็นไปได้ แก้ไข

ถ้าต้องการเสนอข้อความที่น่าจะเป็นไปได้ ให้ใช้รูปแบบนี้

{{อ่านไม่ออก|ข้อความที่น่าจะเป็นไปได้}}
ตัวอย่าง
"ผู้ใหญ่หา{{อ่านไม่ออก|ผ้าใหม่}} ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"
ผลลัพธ์
"ผู้ใหญ่หา(ต้นฉบับตรงนี้อ่านไม่ออก) ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"

ข้อความที่น่าจะเป็นไปได้ จะปรากฏเมื่อนำเคอร์เซอร์ไปวนบริเวณข้อความที่อ่านไม่ออก

การเพิ่มเส้นใต้ แก้ไข

ถ้าต้องการให้มีเส้นใต้บริเวณที่อ่านไม่ออก ให้เพิ่ม | nodash = no เข้าไป

ตัวอย่าง
"ผู้ใหญ่หา{{อ่านไม่ออก|nodash=no}} ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"
ผลลัพธ์
"ผู้ใหญ่หา(ต้นฉบับตรงนี้อ่านไม่ออก) ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"
หรือ
"ผู้ใหญ่หา{{อ่านไม่ออก|ผ้าใหม่|nodash=no}} ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"
ผลลัพธ์
"ผู้ใหญ่หา(ต้นฉบับตรงนี้อ่านไม่ออก) ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ"

แม่แบบที่เกี่ยวข้อง แก้ไข

  • แม่แบบ:? - สำหรับแสดงว่า ข้อความอ่านออก แต่เป็นภาษาที่ผู้ใช้ไม่รู้ หรือต้องการความช่วยเหลือของผู้รู้ภาษานั้น เพื่อใส่ข้อความนั้นลงไปได้
  • แม่แบบ:ตัดออก - สำหรับแสดงว่า ข้อความถูกตัดออกตั้งแต่ในต้นฉบับแล้ว
  • แม่แบบ:ปะติดปะต่อขึ้นใหม่ - สำหรับแสดงคำหรือข้อความที่ปะติดปะต่อขึ้นใหม่