ผู้สร้างสรรค์:พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
(เปลี่ยนทางจาก กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์)
←รายชื่อ: พ | พิทยาลงกรณ์, พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่น (พ.ศ. 2419–2488) |
นามปากกา "น.ม.ส." |
งาน
แก้ไข- กนกนคร (2516) (ต้นฉบับ)
- การค้าทางทะเลในเวลาสงคราม (2476) (เริ่มดัชนี)
- ข่าวตอนต้นรัชชกาลที่ 3 ตามรายงานราชการอังกฤษ (2475)
- ความนึกในฤดูหนาว ทุนทรัพย์แลรางวัลแห่งทุนทรัพย์ การค้าทางทเลในเวลาสงคราม (2469) (เริ่มดัชนี)
- นักเรียนเมืองอังกฤษ (2504) (เริ่มดัชนี)
- นางพญาฮองไทเฮา (2494) (ต้นฉบับ)
- นิทานเวตาล (2461) (ต้นฉบับ)
- เห่เรือ (2475) (ต้นฉบับ)
- เหตุใดไทยจึงพูดซ้อนคำ ฯลฯ (2482) (ต้นฉบับ)
งานที่เป็นส่วนหนึ่งของงานอื่น
แก้ไข- "คำนำ", ใน ปัญญาสชาดก ภาคที่ 16 (2471)
- "คำนำ", ใน ประชุมปกรณัม ภาคที่ 5 (2469) (ต้นฉบับ)
- "คำนำ", ใน ประชุมปกรณัม ภาคที่ 11 (2469) (ต้นฉบับ)
- "คำนำ", ใน ประชุมปกรณัม ภาคที่ 16 (2471) (ต้นฉบับ)
- "คำนำ", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 2 (2470) (ต้นฉบับ)
- "คำนำ", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 14 (2472)
- "คำนำ", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 34 (2469)
งานที่เกี่ยวข้อง
แก้ไข- ประกาศตั้งราชบัณฑิตย์สภา และประกาศตั้งกรรมการบัณฑิตย์สภา ลงวันที่ 19 เมษายน 2469
- ประกาศตั้งและปลดนายกราชบัณฑิตยสภา ลงวันที่ 28 กรกฎาคม 2475
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก