ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๖๑) - ๒๔๗๙.pdf

ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ (795 × 1,210 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 7 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 253 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Collection of Historical Archives

ไทย: ประชุมพงศาวดาร

 s:th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 61  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q1416884
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
English: Collection of Historical Archives
ไทย: ประชุมพงศาวดาร
เล่มที่ 61
รุ่น 1st
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q1416884
โรงพิมพ์
English: Akson Sophon Printing House
ไทย: โรงพิมพ์อักษรโสภณ
คำอธิบาย
English: This volume contains:
  1. A preface by the Fine Arts Department (hereinafter called "FAD"), dated 30 March 2478 BE (1936 CE).
  2. Phongsawadan Mueang Ngoen Yang Chiang Saen ("Chronicle of the Town of Ngoen Yang Chiang Saen"), regarding which no information about the authorship is available. It was first printed as part of this book.
  3. Tamnan Singhanawattikuman ("History of Prince Singhanawat"), regarding which no information about the authorship is available. The original work is in the Northern Thai Language and was found in a manuscript made of Corypha leaves. The version printed here is its translation into the Central Thai language, carried out by Sut Sisomwong, an official at the National Library of Siam, at the behest of the FAD, who directed the translator to keep the original wording intact. The translation was first printed as part of this book. However, in this edition, the FAD removed the initial part of the work which deals with the history of Buddhism and the revision of the Buddhist canon, saying that it "contains verbose language" and "is irrelevant... removing it would not affect the main part".
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
๑. คำนำ ของ กรมศิลปากร ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘
๒. พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน ใครแต่ง แต่งเมื่อใด ไม่ปรากฏ พิมพ์ที่นี่เป็นครั้งแรก
๓. ตำนานสิงหนวัติกุมาร ใครแต่ง แต่งเมื่อใด ไม่ปรากฏ ต้นฉบับเดิมเป็นภาษาล้านนา จารึกในใบลาน นายสุด ศรีสมวงศ์ พนักงานหอสมุดแห่งชาติ ถอดเป็นภาษาไทยกลางเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๗๖ ตามคำสั่งของกรมศิลปากรที่กำชับว่า ให้รักษาสำนวนเดิมไว้บริบูรณ์ พิมพ์ที่นี่เป็นครั้งแรก แต่กรมศิลปากรตัดเรื่องตอนต้นที่ว่าด้วยประวัติศาสนาพุทธและการสังคายนาพระไตรปิฎกออก เพราะเห็นว่า "กล่าวซ้ำ ๆ ซาก ๆ" และ "ไม่เกี่ยวกับเรื่องโดยตรง...ถึงตัดออกก็ไม่ทำให้เสียเนื้อถ้อยกระทงความ"
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 19 เมษายน พ.ศ. 2479
publication_date QS:P577,+1936-04-19T00:00:00Z/11
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๙). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรโสภณ. (พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพนางชื่น ราชพินิจจัย เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ ณ เมรุเชิงบรมบรรพตวัดสระเกศ).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา
Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

รายการที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน01:16, 2 กรกฎาคม 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 01:16, 2 กรกฎาคม 2564795 × 1,210, 253 หน้า (7 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{Institution:Fine Arts Department}} from {{th|1=กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (๒๔๗๙). ''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑''. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรโสภณ. (พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพนางชื่น ราชพินิจจัย เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ ณ เมรุเชิงบรมบรรพตวัดสระเกศ).}} with UploadWizard

46 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์