พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา/ภาค 2

ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
ตราของกรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์
กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
พิมพ์ขึ้นเปนส่วนพระกุศลทานมัยในงานพระศพ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ (ชั้น ๓) กรมหลวงวรเสฐสุดา
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค
กรมขุนอรรควรราชกัญญา
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร
กรมขุนพิจิตรเจษฎจันทร์
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล
กรมขุนสวรรคโลกย์ลักษณวดี

สารบานเรื่อง
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๕ (ปราสาททอง)
จุลศักราช ๙๙๒–๑๐๐๖
เจ้าพระยากระลาโหมรับครองราชสมบัติ
น่า
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก
ปูนบำเหน็จข้าราชการ
คงเลี้ยงสมเด็จพระอาทิตยวงษ์ไว้ในวัง
ตั้งพระศรีสุธรรมราชา
ถวายที่บ้านพระพันปีหลวงสร้างวัดไชยวัฒนาราม
ถ่ายแบบพระนครหลวง (นครธม) เข้ามาสร้าง
สถาปนาวัดพระศรีสรรเพชญ์
สร้างปราสาทศรียศโสธร
เปลี่ยนชื่อปราสาทศรียศโสธรเปนจักรวรรดิ์ไพชยนต์
พระเจ้าลูกเธอพระนารายน์ราชกุมารประสูตร
สร้างปราสาทไอสวรรย์ทิพอาศน์ที่เกาะบางนางอิน (บางปอิน)
สร้างวัดชุมพลนิกายารามที่เกาะบางปอิน
โสกันต์พระเจ้าลูกเธอพระองค์อินทร์ที่เกาะบ้านเลน (พระที่นั่งณเกาะบางปอิน)
สถาปนาพระเจ้าลูกเธอพระองค์อินทร์เปนเจ้าฟ้าไชย
สร้างพระปรางวัดมหาธาตุที่พัง
น่า
ประสูตรพระเจ้าลูกเธอพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ พระองค์ทอง พระอินทราชา
กริ้วพระอาทิตยวงษ์ ให้ลดยศไปอยู่นอกวัง
สร้างพระราชนิเวศธารเกษมที่เขาพระพุทธบาท
เสด็จพระพุทธบาท
คนตื่นเอาตำราวิชาการทิ้งน้ำ
ย้ายสถานพระอิศวร พระนารายน์ มาตั้งที่ชีกุน
ขยายกำแพง (ด้านน่า) พระราชวัง
สร้างปราสาทพระวิหารสมเด็จ[1]
แก้กลับรูปตาเรือกิ่ง
ฟ้าผ่าใกล้พระองค์พระนารายน์ราชกุมารไม่เปนอันตราย
พระอาทิตยวงษ์เปนขบถ
๑๐
ตั้งพระราชพิธีลบศักราช
๑๐
เสด็จโปรยทานรอบพระนคร
๑๓
ทำสัตตสดกมหาทาน
๑๓
บอกเรื่องลบศักราชไปยังกรุงอังวะ
๑๔
พระเจ้าอังวะแต่งราชทูตเข้ามาเยี่ยมพระศพพระเจ้าทรงธรรม แลมีราชสาสนบอกมาว่า จะใช้ศักราชตามเดิม
๑๔
ราชทูตพม่าไม่กินเลี้ยง จึงให้ขับไปเสีย
๑๕
ประทับที่มุขพระที่นั่งไอสวรรย์ทิพอาศน์กับพระนารายน์ ฟ้าผ่าไม่ต้องพระองค์
น่า
๑๕
กำปั่นอลิมหมัดเอาม้าเทศเข้ามา
๑๖
พระโหราทายว่า ไฟจะไหม้พระราชวัง
๑๖
เสด็จหลบไฟไปอยู่วัดไชยวัฒนาราม
๑๖
ฟ้าผ่าไฟไหม้ปราสาทมังคลาภิเศก
๑๗
สร้างปราสาทที่ไฟไหม้ เปลี่ยนชื่อเปนพระวิหารสมเด็จ
๑๗
ประชวร แปลงสถานไปประทับพระที่นั่งเบญจรัตน
๑๘
มอบราชสมบัติแก่เจ้าฟ้าไชย
๑๘
พระเจ้าปราสาททองสวรรคต
๑๘
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๖
(เจ้าฟ้าไชย) ๙ เดือน
พระศรีสุธรรมราชากับพระนารายน์เปนขบถ ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าไชย
น่า
๑๘
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๗ (พระศรีสุธรรมราชา)
(๒ เดือน ๒๐ วัน)
ตั้งพระนารายน์เปนพระมหาอุปราช
น่า
๑๙
พระศรีสุธรรมราชาแพะโลมพระน้องนางของพระนารายน์
๑๙
พระน้องนางลอบหนีไปเฝ้าพระนารายน์
๑๙
เกิดศึกในระหว่างพระนารายน์กับพระศรีสุธรรมราชา
๑๙
พระนารายน์ชนะ จับพระศรีสุธรรมราชาปลงพระชนม์
๒๓
แผ่นดินสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓ (พระนารายน์มหาราช)
จุลศักราช ๑๐๑๘–๑๐๔๔ (๑๐๕๐)
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก
น่า
๒๓
ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าปราสาททอง
๒๕
เสด็จประทับอยู่พระราชวังบวรฯ
๒๖
พระไตรภูวนาทิตยวงษ์อยู่วังหลัง
๒๖
อำแดงแก่นยุพระไตรภูวนาทิตยวงษ์ให้กินแหนงสมเด็จพระนารายน์
๒๖
เกิดกินแหนงกับพระไตรภูวนาทิตยวงษ์
๒๖
จับพระไตรภูวนาทิตยวงษ์แลพระองค์ทองสำเร็จโทษที่พระนครหลวง
๓๓
ชำระพรรคพวกพระไตรภูวนาทิตยวงษ์
๓๓
หล่อเทวรูปสำหรับการพระราชพิธี
๓๗
ทำพระราชพิธีเบญจพิธที่ตำบลมะขามหย่อง
๓๘
หล่อพระเทวกรรม
๓๙
ทำพระราชพิธีมหาปรายาจิตรแลพิธีบันชีพรหมที่ทเลหญ้า
๓๙
ทำพระราชพิธีคชกรรม
๓๙
เสด็จประพาศถึงเมืองนครสวรรค์
๓๙
ได้ช้างเผือกพังชื่อ พระอินทรไอยรา
๓๙
สร้างพระพุทธรูปพระบรมไตรโลกนารถ
๔๑
สร้างพระพุทธรูปพระบรมตรีภพนารถ
๔๑
สร้างพระพุทธรูปทองแลเงิน
น่า
๔๑
สร้างเทวรูปพระบรมกรรมไว้อารามพระศรีรุทรนารถที่ชีกุน
๔๑
สร้างพระเทวกรรม
๔๑
กรุงกัมพูชาเปนจลาจลด้วยนักจันทร์วิวาทกับน้องชื่อนักประทุม
๔๑
แขกแม่นางกะเบาที่เปนขุนนางเขมรหลายคนเข้ามาสวามิภักดิ์
๔๒
เจ้าเขมร สังฆราชเขมร กับขุนนางเขมร อพยพเข้ามาสวามิภักดิ์
๔๒
มริอลาถวายของ
๔๓
พระยาตุกสาถวายของ
๔๓
นางพระยาอาแจถวายของ
๔๔
พระยาแสนหลวง เจ้าเมืองเชียงใหม่ สวามิภักดิ์ ขอกองทัพไปช่วยป้องกันทัพฮ่อ
๔๔
ให้พระยาสีหราชเดโช พระยาท้ายน้ำ ยกไปช่วยเมืองเชียงใหม่
๔๕
เสด็จเมืองพิศณุโลก
๔๖
แสนสุรินทรไมตรีที่เชียงใหม่ให้มานำทัพกรุงหลบหนี
๔๖
แต่งกองทัพ ๕ ทัพหนุนขึ้นไปตีเมืองนครลำปางแลเมืองเถิน
๔๖
กองทัพไทยได้เมืองตัง เมืองลอง
๔๗
เสด็จจากพิศณุโลกมาประทับเมืองศุโขไทย
๔๘
แต่งกองทัพไปตีละว้าเมืองรามตี
๔๘
ได้เมืองรามตี
๔๘
เสด็จกลับพระนคร
น่า
๔๙
กองทัพไทยไปตีเมืองอินทคิรี
๔๙
เมืองอินทคิรีสวามิภักดิ์
๔๙
มอญเมืองเมาะตมะเปนขบถต่อพระเจ้าอังวะ
๕๑
มอญเมืองเมาะตมะเข้ามาตามครัวมอญ
๕๓
พม่าจะยกกองทัพเข้ามาตามครัวมอญ
๕๓
กองทัพไทยที่ได้เมืองนครลำปางยกขึ้นไปตีเมืองนครลำพูนไชย เมืองเชียงใหม่
๕๓
พระยาเชียงใหม่ พระยาลำพูน คิดอุบายหน่วงกองทัพไทยคอยพม่ามาช่วย
๕๔
กองทัพพม่ายกเข้ามาถึงปลายด่านเมืองกาญจนบุรี
๕๖
เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ยกไปรบพม่า
๕๖
ให้หากองทัพที่ไปตีเชียงใหม่กลับมาช่วยรบพม่าแขวงเมืองกาญจนบุรี
๕๗
กองทัพไทยตีพม่าที่เมืองไทรโยค
๕๘
ให้หากองทัพกลับพระนคร
๕๙
ตั้งฝรั่งเปนหลวงวิไชเยนทร์
๕๙
เลื่อนหลวงวิไชเยนทร์เปนพระ แล้วเปนพระยา
๕๙
พระยาวิไชเยนทร์กราบทูลสรรเสริญสมบัติฝรั่งเศส
๕๙
แต่งนายปานเปนราชทูตไปเมืองฝรั่งเศส
๖๐
นายปานราชทูตกลับถึงกรุง
๖๘
โปรดให้เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ยกกองทัพไปตีเมืองอังวะ
น่า
๖๙
โปรดให้กองทัพไทยขึ้นไปเกณฑ์คนเชียงใหม่ ลำพูนไชย นครลำปาง ไปสมทบทัพไทยตีเมืองอังวะ
๖๙
กองทัพไทยไปชุมนุมทัพที่เมืองจิตตอง
๗๐
กองทัพไทยได้เมืองเสี่ยง เมืองย่างกุ้ง เมืองหงษาวดี
๗๐
กองทัพไทยไปถึงเมืองอังวะ
๗๐
พระเจ้าอังวะให้มังจาเลราชบุตรออกตั้งรับกองทัพไทย
๗๑
พม่าคิดกลจับพระยาสีหราชเดโช
๗๑
พระสุรินทรภักดีแก้พระยาสีหราชเดโชมาได้
๗๒
ได้ทรงทราบข่าวพม่าจับพระยาสีหราชเดโช ให้พระพิมลธรรมจับยาม
๗๒
กองทัพไทยขัดเสบียง
๗๔
เจ้าพระยาโกษาคิดอุบายถอยทัพ
๗๕
พม่าหลงกลเจ้าพระยาโกษา
๗๘
กองทัพเชียงใหม่หนีกลับไปเมือง
๘๐
เจ้าพระยาโกษาให้พระยากำแพงเพ็ชรแลพระยารามเดโชคุมพลไปตามทัพเชียงใหม่
๘๑
เชียงใหม่เตรียมต่อสู้
๘๑
กองทัพไทยที่ไปตามเข้าตีเมืองเชียงใหม่ไม่ได้
๘๒
กองทัพไทยเลิกกลับลงมาอยู่เมืองกำแพงเพ็ชร
๘๓
ให้หากองทัพกลับพระนคร
น่า
๘๔
ได้ช้างเผือกเมืองนครสวรรค์ เจ้าพระยาบรมคเชนทรฉัททันต์
๘๕
เจ้าพระยาโกษา (ขุนเหล็ก) ถึงอสัญกรรม
๘๖
โปรดให้นายปานราชทูตเปนเจ้าพระยาโกษาธิบดี
๘๗
โปรดให้เจ้าพระยาโกษา (ปาน) เปนแม่ทัพไปตีเชียงใหม่
๘๗
เจ้าพระยาโกษา (ปาน) ลองอาญาสิทธิ์
๘๘
เจ้าพระยาโกษา (ปาน) ยกกองทัพไปตีเชียงใหม่
๙๐
กองทัพไทยได้เมืองนครลำปาง
๙๑
กองทัพไทยได้เมืองลำพูนไชย
๙๑
กองทัพไทยไปติดเมืองเชียงใหม่
๙๑
กองทัพไทยตั้งล้อมเมืองเชียงใหม่
๙๒
เสด็จยกกองทัพหลวงขึ้นไปตั้งอยู่เมืองลำพูน
๙๒
เลื่อนกองทัพหลวงเสด็จไปตั้งณเมืองเชียงใหม่
๙๔
เข้าตีได้เมืองเชียงใหม่
๙๖
เสด็จยกทัพหลวงกลับพระนคร
๙๘
พระราชทานนางธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่แก่พระเพทราชา
๙๙
เสด็จพิศณุโลก
๙๙
นางธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่ประสูตรนายเดื่อที่ตำบลโพธิ์ประทับช้าง
๙๙
พระเพทราชาถวายนายเดื่อเปนมหาดเล็ก
๑๐๐
ส่องพระฉายกับนายเดื่อ
๑๐๐
ความทนงองอาจของนายเดื่อ
๑๐๐
ทรงตั้งนายเดื่อเปนหลวงสรศักดิ์
น่า
๑๐๑
สร้างเมืองลพบุรีเปนที่ประทับฤดูแล้ง
๑๐๒
พระราชโอรส พระราชธิดา ของสมเด็จพระนารายน์
๑๐๓
พระราชภคินีของสมเด็จพระนารายน์
๑๐๓
พระยาวิไชเยนทร์เลื่อนเปนเจ้าพระยาที่สมุหนายก
๑๐๓
ให้พระยารามเดโชไปครองเมืองนครศรีธรรมราช
๑๐๓
พระยายมราชไปครองเมืองนครราชสิมา
๑๐๓
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ก่อตึกต่าง ๆ ที่เมืองลพบุรี
๑๐๓
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์คิดจะเอาราชสมบัติ
๑๐๓
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ให้สึกภิกษุสามเณรเปนอันมาก
๑๐๓
หลวงสรศักดิ์ชกเจ้าพระยาวิไชเยนทร์
๑๐๔
เจ้าแม่วัดดุสิตทูลขอโทษหลวงสรศักดิ์
๑๐๕
เจ้าพระยาวิไชเยนทร์ชั่งปืนพระพิรุณ
๑๐๗
สร้างป้อมเมืองพิศณุโลก เมืองธนบุรี
๑๐๘
เสด็จพระพุทธบาททุกปี
๑๐๙
พระเพทราชาขี่ม้าพระที่นั่ง มีนิมิตร
๑๐๙
ช้างเผือกเจ้าพระยาบรมคเชนทรฉัททันต์ล้ม
๑๑๑
สมเด็จพระนารายน์ประชวรหนัก
๑๑๑
หลวงสรศักดิ์คิดเอาราชสมบัติ
๑๑๑
หลวงสรศักดิ์ชวนพระเพทราชาคิดเอาราชสมบัติ
๑๑๒
หลวงสรศักดิ์ขู่ขุนนางให้เข้าด้วย
๑๑๓
หลวงสรศักดิ์ยกพระเพทราชาให้เปนผู้รับราชสมบัติ
๑๑๕
ฆ่าเจ้าพระยาวิไชเยนทร์
น่า
๑๑๕
สมเด็จพระนารายน์ทราบว่า พระเพทราชากับหลวงสรศักดิ์คิดจะเอาราชสมบัติ
๑๑๖
สมเด็จพระนารายน์ให้บวชชาวที่ชาววังในพระที่นั่ง
๑๑๘
สมเด็จพระนารายน์ทรงอุทิศที่พระมหาปราสาทเปนวิสุงคามสิมา
๑๑๘
หลวงสรศักดิ์ให้ฆ่าพระปีย์
๑๑๙
สมเด็จพระนารายน์สวรรคต
๑๒๐
แผ่นดินสมเด็จพระมหาบุรุษ (พระเพทราชา)
จุลศักราช ๑๐๔๔–๑๐๕๙
ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าอภัยทศ
น่า
๑๒๐
พระเพทราชาเสวยราชย์
๑๒๑
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกครั้งที่ ๑ ที่เมืองลพบุรี
๑๒๑
ตั้งหลวงสรศักดิ์เปนกรมพระราชวังบวรฯ
๑๒๑
เชิญพระบรมศพกลับกรุง
๑๒๒
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกครั้งที่ ๒ ที่ในกรุง
๑๒๓
สมโภชพระนคร
๑๒๓
เลียบพระนคร
๑๒๔
พระญาติวงษ์บ้านพลูหลวงเข้ามาเฝ้า
๑๒๔
ตั้งพระมเหษีทั้ง ๓
๑๒๖
ตั้งลูกเธอหลานเธอ
๑๒๖
ตั้งนายจบคชประสิทธิเปนกรมพระราชวังหลัง
น่า
๑๒๖
ตั้งนายกรินทร์คชประสิทธิเปนเจ้าพระพิไชยสุรินทร์
๑๒๖
ตั้งเจ้าราชนิกูล
๑๒๖
ให้เจ้าพระยาสุรสงครามมียศเท่ากรมพระราชวังหลัง
๑๒๖
เอาวังจันทร์เปนพระราชวังบวรฯ
๑๒๗
เรื่องกรมหลวงโยธาทิพ กรมหลวงโยธาเทพ
๑๒๗
ทำพระเมรุพระบรมศพ
๑๒๗
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
๑๒๗
ทำอุบายกำจัดกรมพระราชวังหลังแลเจ้าพระยาสุรสงคราม
๑๒๙
อ้ายธรรมเถียรปลอมตัวเปนเจ้าฟ้าอภัยทศยกเข้ามาตีกรุง
๑๓๐
จับอ้ายธรรมเถียรได้
๑๓๓
พระยายมราชสังข์ตั้งแขงเมืองนครราชสิมา
๑๓๔
ให้พระยาสีหราชเดโชยกกองทัพไปตีเมืองนครราชสิมา
๑๓๕
ทัพกรุงตีเมืองนครราชสิมาไม่ได้ ขอกองทัพเพิ่มเติม
๑๓๖
ลงพระราชอาญาแม่ทัพนายกอง
๑๓๖
เตรียมกองทัพยกไปตีนครราชสิมาอิก
๑๓๗
ตึกดินระเบิด
๑๓๗
ท้าวทรงกันดาลอู่หนีไปอยู่เมืองนครราชสิมา
๑๓๘
ทัพกรุงได้เมืองนครราชสิมา
๑๓๘
พระยายมราชสังข์หนีไปอยู่เมืองนครศรีธรรมราช
๑๓๘
กรมหลวงโยธาทิพประสูตรเจ้าฟ้าพระขวัญ
น่า
๑๓๙
ถวายบ้านหลวงสร้างวัดบรมพุทธาราม
๑๓๙
ได้ข่าวเมืองนครศรีธรรมราชเตรียมกองทัพจะเข้าตีกรุง
๑๔๐
ให้พระยาสุรสงครามเปนแม่ทัพบก พระยาราชบังสันเปนแม่ทัพเรือ ไปตีเมืองนครศรีธรรมราช
๑๔๑
กองทัพบกรบพระยายมราชสังข์ที่ปลายแดนเมืองนครศรีธรรมราช
๑๔๑
ทัพกรุงถึงเมืองนครศรีธรรมราช
๑๔๒
เมืองนครศรีธรรมราชขัดเสบียง
๑๔๔
พระยารามเดโชขอเรือพระยาราชบังสัน
๑๔๕
พระยารามเดโชหนีจากเมืองนครศรีธรรมราช
๑๔๗
ทัพกรุงได้เมืองนครศรีธรรมราช
๑๔๘
ประหารชีวิตรพระยาราชบังสัน
๑๔๙
ให้หากองทัพกลับกรุง
๑๔๙
สร้างพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาศน์
๑๔๙
ทำพระที่นั่งทรงปืนเปนที่เสด็จออกข้างท้ายวัง
๑๕๐
กรมหลวงโยธาเทพประสูตรเจ้าฟ้าตรัสน้อย
๑๕๐
แต่งราชทูตไปเมืองฝรั่งเศส
๑๕๐
ได้ช้างเผือกพังเมืองสวรรคโลกชื่อพระอินทไอยราพต
๑๕๐
ปฏิสังขรณ์วัดพระยาแมน
๑๕๑
ได้ช้างเผือกพังจากกรุงกัมพูชาชื่อพระบรมรัตนากาศ
น่า
๑๕๒
อ้ายบุญกว้างลาวตั้งตัวเปนผู้วิเศษ
๑๕๔
อ้ายบุญกว้างได้เมืองนครราชสิมา
๑๕๔
อ้ายบุญกว้างยกมาตั้งเมืองลพบุรี
๑๕๕
ให้พระยาสุรเสนายกทัพไปรบอ้ายบุญกว้าง
๑๕๖
จับอ้ายบุญกว้างได้ที่เมืองลพบุรี
๑๕๖
เสด็จพระพุทธบาท
๑๕๗
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตทูลถวายพระแก้วฟ้าราชธิดา
๑๖๐
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตขอกองทัพไปช่วยต่อสู้ทัพหลวงพระบาง
๑๖๐
ให้พระยานครราชสิมายกกองทัพไปห้ามศึกหลวงพระบาง
๑๖๑
กองทัพหลวงพระบางเลิกไป
๑๖๒
พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตส่งพระแก้วฟ้ามาถวาย
๑๖๓
กรมพระราชวังบวรฯ ชิงพระแก้วฟ้า
๑๖๓
โสกันต์เจ้าฟ้าพระขวัญ
๑๖๓
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก
๑๖๕
กรมพระราชวังบวรฯ ปลงพระชนม์เจ้าฟ้าพระขวัญ
๑๖๕
กรมหลวงโยธาทิพกราบทูลข่าวเจ้าฟ้าพระขวัญสิ้นพระชนม์
๑๖๖
พระเจ้าแผ่นดินมอบราชสมบัติแก่เจ้าพระพิไชยสุรินทร์ราชนิกูล
๑๖๗
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต
๑๖๗
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ (พระเจ้าเสือ)
จุลศักราช ๑๐๕๙–๑๐๖๘
เจ้าพระพิไชยสุรินทร์ถวายราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ
น่า
๑๖๙
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก
๑๗๑
ตั้ง (เจ้าฟ้าเพ็ชร์เปน) กรมพระราชวังบวรฯ
๑๗๒
ตั้ง (เจ้าฟ้าพรเปน) พระบัณฑูรน้อย
๑๗๒
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
๑๗๒
สร้างวัดโพธิ์ประทับช้างแขวงเมืองพิจิตร
๑๗๓
เสด็จไปฉลองวัดโพธิ์ประทับช้าง
๑๗๔
ฟ้าผ่าไฟไหม้มณฑปพระมงคลบพิตร ๆ พระเศียรหัก
๑๗๔
แปลงมณฑปพระมงคลบพิตรเปนมหาวิหาร
๑๗๔
ตั้งพระมเหษีกลางแผ่นดินก่อนเปนกรมพระเทพามาตย์ ออกไปอยู่ตำหนักวัดดุสิต
๑๗๕
กรมหลวงโยธาทิพ กรมหลวงโยธาเทพ ออกไปอยู่ตำหนักวัดพุทไธสวรรย์
๑๗๕
ประวัติเจ้าฟ้าตรัสน้อยแต่โสกันต์จนทรงผนวชพระ
๑๗๕
พระนามลูกเธอใน ๒ รัชกาล
๑๗๖
คล้องได้ช้างงาสั้นชื่อพระบรมไตรจักร
๑๗๗
สร้างมณฑป ๕ ยอดที่พระพุทธบาท
๑๗๗
เสด็จพระพุทธบาท
๑๗๗
สมเด็จพระสังฆราชไปช่วยเปนแม่การ
๑๗๗
ลักษณประพาศของพระเจ้าแผ่นดิน
๑๗๘
มณฑปพระพุทธบาทค้างการทองแลประดับกระจก
น่า
๑๗๘
เสด็จไปชกมวยที่เมืองวิเศษไชยชาญ
๑๗๘
เสด็จไปล้อมช้างที่เมืองนครสวรรค์
๑๘๐
ให้พระบัณฑูรทั้ง ๒ ทำถนนข้ามบึงหูกวาง
๑๘๑
ช้างพระที่นั่งถลำหล่มที่ถนนบึงหูกวาง
๑๘๒
ทรงพระพิโรธพระบัณฑูรทั้ง ๒
๑๘๒
ลงพระราชอาญาพระบัณฑูรทั้ง ๒
๑๘๓
พระบัณฑูรทั้ง ๒ ให้เชิญเสด็จกรมพระเทพามาตย์
๑๘๓
กรมพระเทพามาตย์เสด็จขึ้นไปทูลขอโทษให้พระบัณฑูร
๑๘๔
พระบัณฑูรพ้นโทษ
๑๘๕
เรื่องพระองค์เจ้าที่เปนธิดาเจ้าพระบำเรอภูธร
๑๘๖
เจ้าฟ้าพระราชธิดาสิ้นพระชนม์
๑๘๗
ความกักขละของพระเจ้าแผ่นดิน
๑๘๗
เสด็จประพาศเมืองเพ็ชรบุรีแลชายทเล
๑๘๘
เสด็จประพาศปากน้ำเมืองสาครบุรี
๑๘๘
หัวเรือพระที่นั่งโดนหักที่โคกขาม
๑๘๘
เรื่องพันท้ายนรสิงห์
๑๘๘
ให้พระราชสงครามขุดคลองโคกขาม
๑๙๐
ตำนานการขุดคลองครั้งกรุง
๑๙๑
เสด็จพระพุทธบาท
๑๙๒
เสด็จนมัสการพระฉายที่เขาปัถวี
๑๙๔
เสด็จนมัสการพระเจดีย์เขาพนมโยง
๑๙๔
ประชวรลงกลางทาง ต้องเสด็จกลับ
น่า
๑๙๔
การขุดคลองโคกขามค้างอยู่ครึ่งหนึ่ง
๑๙๔
มอบราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ
๑๙๔
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต
๑๙๔
แผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๙ (พระเจ้าท้ายสระ)
จุลศักราช ๑๐๖๘–๑๐๙๔
จัดการพระบรมศพ
น่า
๑๙๕
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก
๑๙๖
ตั้งพระบัณฑูรน้อยเปนกรมพระราชวังบวรฯ
๑๙๖
พระอัธยาไศรยของพระเจ้าแผ่นดิน
๑๙๖
ประหารชีวิตรพระองค์เจ้าดำ
๑๙๗
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
๑๙๗
ปิดทองประดับกระจกแผ่นใหญ่ฝามณฑปพระพุทธบาทที่ค้างอยู่
๑๙๘
เสด็จพระพุทธบาท
๑๙๘
กรมพระเทพามาตย์สวรรคต
๑๙๘
นักแก้วฟ้าจอกไปพาญวนมาตีกรุงกัมพูชา
๑๙๙
เจ้ากรุงกัมพูชาหนีเข้ามาพึ่งพระบารมี
๑๙๙
ให้เจ้าพระยาจักรี (โรงฆ้อง) คุมกองทัพบก พระยาโกษา (จีน) ยกกองทัพเรือไปตีกรุงกัมพูชา
๒๐๐
ทัพเรือเสียทีแก่ข้าศึก
๒๐๑
ทัพบกตีเข้าไปได้ถึงเมืองหลวง
น่า
๒๐๒
เจ้าพระยาจักรีเกลี้ยกล่อมนักพระแก้วฟ้ายอมสวามิภักดิ์
๒๐๒
พระนามเจ้าฟ้าลูกเธอที่มีด้วยพระอรรคมเหษี
๒๐๓
ปฏิสังขรณ์วัดมเหยงค์
๒๐๓
กรมพระราชวังปฏิสังขรณ์วัดกุฎีดาว
๒๐๔
ฉลองวัดมเหยงค์
๒๐๔
ต่อกำปั่นไตรมุขบรรทุกช้างเมืองมฤตไปขายเมืองเทศ
๒๐๔
กรมพระราชวังบวรฯ ฉลองวัดกุฎีดาว
๒๐๔
กรมหลวงโยธาทิพสิ้นพระชนม์
๒๐๕
ขุดคลองโคกขามที่ยังค้าง
๒๐๕
ให้พระธนบุรีขุดคลองเกร็ด
๒๐๖
เสด็จโพนช้างแขวงเมืองนครนายก
๒๐๖
ช้างที่นั่งกรมพระราชวังบวรฯ แทงท้ายช้างพระที่นั่ง
๒๐๗
เสด็จพระพุทธบาท
๒๐๗
กรมพระราชวังบวรฯ ปฏิญาณที่พระพุทธบาท
๒๐๘
น้ำเซาะวัดพระนอนปาโมกข์
๒๐๘
พระยาราชสงครามอาสาขลอพระนอน
๒๐๙
ชลอพระนอนปาโมกข์
๒๑๐
สร้างวัดปาโมกข์ใหม่
๒๑๐
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก
๒๑๐
มอบราชสมบัติแก่เจ้าฟ้าอภัย
๒๑๑
กรมพระราชวังบวรฯ ไม่เต็มพระไทยให้ราชสมบัติเจ้าฟ้าอภัย
๒๑๑
เจ้าฟ้าอภัยกับกรมพระราชวังบวรฯ เตรียมรบกัน
น่า
๒๑๑
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต
๒๑๑
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระบรมโกษ)
จุลศักราช ๑๐๙๔–๑๑๒๐
เจ้าฟ้าอภัยกับกรมพระราชวังบวรฯ รบกันกลางพระนคร
น่า
๒๑๒
พระธนบุรีอาสาเจ้าฟ้าอภัย ขุนชำนาญอาสากรมพระราชวังบวรฯ
๒๑๒
ขุนชำนาญฟันพระธนบุรีตายในที่รบ
๒๑๓
เจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์ หนี
๒๑๓
ขุนชำนาญตามจับเจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์ ได้
๒๑๔
สำเร็จโทษเจ้าฟ้าอภัย เจ้าฟ้าปรเมศวร์
๒๑๕
พระองค์แก้วหนีเจ้าฟ้าอภัยมาเข้ากับกรมพระราชวังบวรฯ
๒๑๕
กรมพระราชวังบวรฯ อุบายสำเร็จโทษพระองค์แก้ว
๒๑๕
ยกโทษนายด้วง มหาดเล็กเจ้าฟ้าอภัย
๒๑๖
ให้แขกจามแทงพระพิไชยราชาแลพระยายมราช (พูน) ที่หนีบวช
๒๑๖
ยกโทษหมื่นราชประสิทธิกรรม์ประทานปขาวจันเพ็ชร
๒๑๖
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศกในพระราชวังบวรฯ
๒๑๗
ตั้งขุนชำนาญเปนเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ ที่โกษาธิบดี
๒๑๗
ตั้งหลวงจ่าแสนยากรเปนเจ้าพระยาอภัยมนตรี ที่สมุหนายก
๒๑๘
ตั้งพระยาราชสงคราม ที่สมุหนายก เปนเจ้าพระยาราชนายก ที่สมุหกระลาโหม
น่า
๒๑๘
ตั้งพระมเหษีใหญ่เปนกรมหลวงอภัยนุชิต
๒๑๘
ตั้งพระมเหษีน้อยเปนกรมหลวงพิพิธมนตรี
๒๑๘
ตั้งเจ้าฟ้าแลพระองค์เจ้าลูกเธอ
๒๑๘
พระนามเจ้าฟ้าลูกเธอ
๒๑๙
ทรงขัดแค้นจะไม่ทำพระบรมศพ
๒๑๙
ขัดเจ้าพระยาราชนายกไม่ได้ จึงทำ
๒๑๙
ฉลองวัดป่าโมก
๒๒๐
เสด็จไปล้อมช้างที่เมืองลพบุรี
๒๒๐
เวลาเสด็จไม่อยู่ พวกจีนบ้านนายก่ายเข้าปล้นพระราชวัง
๒๒๑
เจ้าฟ้าพระตรัสน้อยเข้ามาช่วยป้องกันพระราชวัง
๒๒๑
ทรงแคลงเจ้าฟ้าตรัสน้อย
๒๒๒
เจ้าฟ้าตรัสน้อยขึ้นไปเฝ้าทูลชี้แจงจนสิ้นทรงสงไสย
๒๒๒
เปลี่ยนเครื่องบนพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท
๒๒๒
เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ฟันเจ้าฟ้ากรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ที่ทรงผนวช
๒๒๒
เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์หนีพระราชอาญาไปทรงผนวช
๒๒๓
สำเร็จโทษพระองค์เจ้าชื่น พระองค์เจ้าเกิด ที่ร่วมคิดกับเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์
๒๒๓
ได้ช้างเผือกพังแต่กรุงกัมพูชาชื่อ พระวิเชียรหัศดิน
๒๒๓
ให้ปิดทองเครื่องบนพระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท
๒๒๔
เปลี่ยนเครื่องบนพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาศน์ พระที่นั่งสุริยามรินทร์
น่า
๒๒๔
กรมหลวงโยธาเทพสิ้นพระชนม์
๒๒๔
กรมหลวงอภัยนุชิตประชวรหนัก ทูลขอโทษเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์
๒๒๕
กรมหลวงอภัยนุชิตสิ้นพระชนม์
๒๒๕
ฉลองวัดหารตรา
๒๒๕
เสด็จพระบาททุกปี
๒๒๖
เสด็จเมืองพิศณุโลก
๒๒๖
เสด็จนมัสการพระแท่นศิลาอาศน์และพระฝาง
๒๒๖
ตั้งเจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์เปนกรมพระราชวังบวรฯ
๒๒๖
ตั้งเจ้าฟ้าอินทสุดาวดีเปนกรมขุนยิสารเสนี มเหษีกรมพระราชวังบวรฯ
๒๒๖
ปฏิสังขรร์วัดพระศรีสรรเพชญ์
๒๒๖
ต่อพระเศียรพระมงคลบพิตร แลแปลงมณฑปเปนมหาวิหาร
๒๒๖
ปฏิสังขรณ์วัดพระราม
๒๒๗
เปลี่ยนเครื่องบนพระวิหารสมเด็จ
๒๒๗
เจ้าพระอภัยมนตรี ที่สมุหนายก ถึงอสัญกรรม เลื่อนพระยาราชภักดีเปนสมุหนายก
๒๒๗
แต่งข้าหลวงออกเที่ยวเกลี้ยกล่อมเลขที่กระจัดพลัดพราย
๒๒๗
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองนครศรีธรรมราชชื่อ พระบรมนาเคนทร์
๒๒๘
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองไชยาชื่อ พระบรมวิไชยคเชนทร์
น่า
๒๒๘
ได้ช้างพลายงาสั้นเมืองนครศรีธรรมราชชื่อ พระบรมจักรพาฬ
๒๒๘
สมิงแซงมูได้เมืองหงษาวดี ตั้งแขงเมืองต่อพระเจ้าอังวะ
๒๒๘
สมิงแซงมูตั้งกวยคนหนึ่งซึ่งเปนบุตรเขยเปนสมิงทอ
๒๒๙
พม่าเจ้าเมืองกรมการเมืองเมาะตมะอพยพครัวหนีมอญเข้ามาพึ่งพระบารมี
๒๒๙
เพลิงไหม้พระราชวังบวรฯ จึงเสด็จเข้ามาอยู่วังหลวง
๒๒๙
สร้างวังน่าใหม่พระราชทานกรมพระราชวังบวรฯ
๒๓๐
พระเจ้าอังวะแต่งทูตเจ้ามาขอบพระคุณที่ทรงรับเลี้ยงพม่าเมืองเมาะตมะ
๒๓๐
ราชทูตพม่าไม่ไหว้เสนาบดีก่อนเฝ้า ทรงเห็นชอบ
๒๓๐
ให้กลับใช้ธรรมเนียมเก่า ให้มหาดเล็กต้นรับสั่งขี่ฅอตำรวจวังไปสั่งราชการ
๒๓๑
ให้ราชทูตไทยไปตอบเมืองพม่า
๒๓๑
พระยาหงษาวดีล้อมเมืองอังวะ
๒๓๑
ราชทูตพม่าลวงรามัญว่าไทยจะไปช่วย
๒๓๑
ทัพหงษาวดีขัดเสบียงเลิกกลับ
๒๓๒
ปฏิสังขรณ์วัดภูเขาทอง
๒๓๒
เสด็จเมืองลพบุรี
๒๓๒
จับนักโสมเขมรตั้งซ่อง
๒๓๒
เมืองนครศรีธรรมราชบอกข่าวช้างสีปลาด
๒๓๒
เรื่องทำโรงรับช้างรายทางเปนโรงยอดไม่ต้องพระไทย
๒๓๒
ประทานชื่อช้างสีปลาดว่า พระบรมคชลักษณ
น่า
๒๓๓
พระยาหงสาวดีตีได้เมืองอังวะ
๒๓๓
มังลองพม่าตั้งตัวเปนใหญ่
๒๓๓
มังลองพม่าตีได้เมืองอังวะ
๒๓๓
มังลองตั้งเมืองรัตนสิงคขึ้นที่บ้านมุกโชโบ
๒๓๔
พระยาหงษาวดีแต่งกองทัพไปตีเมืองอังวะ
๒๓๔
กองทัพหงษาวดีแพ้มังลอง
๒๓๔
พระยาพระรามกับรามัญพรรคพวกหนีพระยาหงษาวดีเข้ามาพึ่งพระบารมี
๒๓๕
พบบ่อทองบางสพาน
๒๓๖
ทรงบำเพ็ญมหาทาน
๒๓๖
เสด็จพระพุทธบาท
๒๓๖
สมิงทอหนีพระยาหงษาวดีมาพึ่งพระบารมี
๒๓๗
ทรงแคลงสมิงทอ ให้จำคุกไว้
๒๓๗
กรมหมื่นอินทรภักดีสิ้นพระชนม์
๒๓๗
นักพระสถาองค์อิงพาญวนเข้ามาตีกรุงกัมพูชา
๒๓๗
นักพระรามาธิบดีกับนักพระศรีไชยเชฐหนีเข้ามาพึ่งพระบารมี
๒๓๗
เตรียมทัพจะยกไปตีกรุงกัมพูชา
๒๓๘
พระยาพระรามรามัญคิดอุบายอาสาแล้วหนี
๒๓๘
จับพระยาพระรามประหารชีวิตร
๒๓๘
พระยาราชสุภาวดียกกองทัพไปกรุงกัมพูชา
๒๓๘
นักพระสถายอมอ่อนน้อม จึงเลิกกองทัพกลับ
๒๓๘
นักพระสถาองค์อิงพิราไลย โปรดให้นักพระรามาธิบดีไปครองกรุงกัมพูชา
น่า
๒๓๘
ให้เอาตัวสมิงทอไปปล่อยเสียเมืองกวางตุ้ง
๒๓๙
พระเจ้ากรุงลังกาทูลขอพระสงฆ์
๒๓๙
ให้พระอุบาฬี พระอริยมุนี ไปลังกา
๒๓๙
เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ถึงอสัญกรรม ทำศพอย่างเจ้าต่างกรม
๒๔๐
เสด็จไปล้อมช้างเมืองลพบุรี
๒๔๐
เสด็จนมัสการพระนอนจักรศรีแลพระนอนขุนอินทรประมูล
๒๔๐
ฉลองวัดนางคำ
๒๔๑
ให้พระนั่งกรรมฐานห้าฝน
๒๔๑
กรมพระราชวังบวรฯ จับเจ้ากรมปลัดกรมเจ้า ๓ กรมไปลงพระอาญา
๒๔๑
กรมหมื่นสุนทรเทพกล่าวโทษเจ้ากรมพระราชวังบวรฯ ว่าเปนชู้กับเจ้าฟ้านิ่มกับเจ้าฟ้าสังวาล
๒๔๒
จับกรมพระราชวังบวรฯ ชำระเปนสัตย์
๒๔๒
ลงพระราชอาญากรมพระราชวังบวรฯ
๒๔๓
ถอดกรมพระราชวังบวรฯ เจ้าฟ้านิ่ม เจ้าฟ้าสังวาล ลงเปนไพร่
๒๔๓
กรมพระราชวังบวรฯ เจ้าฟ้าสังวาล สิ้นพระชนม์ในระหว่างโทษ
๒๔๔
เจ้าพระยาราชนายก เจ้าพระยาราชภักดี ถึงอสัญกรรม
๒๔๔
ตั้งพระยาราชสุภาวดี (บ้านประตูจีน) เปนเจ้าพระยาอภัยราชาที่สมุหนายก
น่า
๒๔๔
ตั้งพระยาธรรมไตรโลก (บ้านคลองแกลบ) เปนเจ้าพระยามหาเสนาที่สมุหพระกระลาโหม
๒๔๔
ตั้งพระยาบำเรอภักดิ์เปนพระยารัตนาธิเบศร์ว่ากรมวัง
๒๔๔
เสด็จไปฉลองพระนอนจักรศรี
๒๔๔
ได้ช้างงาสั้นเมืองนครไชยศรีชื่อ พระบรมไตรจักร
๒๔๔
กรมหมื่นเทพพิพิธกับเสนาบดีทูลขอให้เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิตเปนกรมพระราชวังบวรฯ
๒๔๕
เจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิตขอให้เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีเปนกรมพระราชวังบวรฯ
๒๔๕
รับสั่งให้เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีไปทรงผนวชเสีย
๒๔๕
อุปราชาภิเศกเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิต
๒๔๕
กรมพระราชวังบวรฯ อยู่ในพระราชวังหลวง
๒๔๖
เรื่องปล่อยช้างต้นพระบรมจักรพาฬถวายพระพุทธบาท
๒๔๖
พระมหาธาตุวัดบวรโพธิ์พัง
๒๔๖
พระเจ้าแผ่นดินประชวรหนัก
๒๔๗
มอบราชสมบัติแก่กรมพระราชวังบวรฯ
๒๔๗
เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีลอบลาผนวชเข้ามาอยู่ในพระราชวัง
๒๔๗
พระเจ้าแผ่นดินสวรรคต
๒๔๘
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (กรมขุนพรพินิต)
จุลศักราช ๑๑๒๐ ๑๐ วัน
เจ้า ๓ กรมวุ่นวาย
น่า
๒๔๘
กรมพระราชวังบวรฯ ให้พระราชาคณะไปว่ากล่าวเจ้า ๓ กรม
๒๔๙
เจ้า ๓ กรมมาเฝ้าทำสัตย์ถวาย
๒๔๙
จัดการพระบรมศพ
๒๔๙
จับเจ้า ๓ กรม
๒๔๙
สำเร็จโทษเจ้า ๓ กรม
๒๕๐
ทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก
๒๕๐
เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีปราถนาราชสมบัติ
๒๕๐
พระเจ้าแผ่นดินถวายราชสมบัติเจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรี
๒๕๑
พระเจ้าแผ่นดินไปทรงผนวชอยู่วัดประดู่
๒๕๑
แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ ๓ (พระที่นั่งสุริยามรินทร์)
จุลศักราช ๑๑๒๐–๑๑๒๙
ทำพระราชพิธีราชาภิเศก
น่า
๒๕๑
กรมหมื่นเทพพิพิธออกทรงผนวชอยู่วัดกระโจม
๒๕๑
ตั้งกรมหลวงพิพิธมนตรี สมเด็จพระพันปีหลวง เปนกรมพระเทพามาตย์
๒๕๑
ตั้งพระองค์อาทิตย์เปนกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์
๒๕๒
ตั้งนายปิ่น พี่พระสนมเอก เปนพระยาราชมนตรีบริรักษ์ จางวางมหาดเล็ก
น่า
๒๕๒
ตั้งนายฉิม น้องนายปิ่น เปนจมื่นศรีสรรักษ์
๒๕๒
สมเด็จพระพันปีหลวงสวรรคต
๒๕๒
ความหยาบช้าของพระยาราชมนตรี (ปิ่น)
๒๕๒
เจ้าพระยาอภัยราชาคิดจะเชิญพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงผนวชกลับมาครองราชสมบัติ
๒๕๒
เจ้าพระยาอภัยราชากับผู้ร่วมคิดไปปฤกษากับกรมหมื่นเทพพิพิธ
๒๕๓
กรมหมื่นเทพพิพิธกับผู้ร่วมคิดพากันไปทูลพระเจ้าแผ่นเินที่ทรงผนวช
๒๕๓
พระเจ้าแผ่นเินที่ทรงผนวชทูลความให้สมเด็จพระเชษฐาธิราชทราบ
๒๕๓
จับเจ้าพระยาอภัยราชา พระยายมราช พระยาเพ็ชรบุรี แลนายจุ้ย ผู้ร่วมคิด
๒๕๓
กรมหมื่นเทพพิพิธหนีไปตั้งค่ายอยู่วัดพระเจ้าพแนงเชิง
๒๕๔
อุบายจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้
๒๕๔
ส่งพระวิสุทธาจารย์ พระวรญาณมุนี ไปเปลี่ยนพระอุบาฬี พระอริยมุนี ที่ลังกาทวีป
๒๕๔
ให้เอากรมหมื่นเทพพิพิธฝากไปปล่อยลังกาทวีป
๒๕๕
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ
๒๕๕
มังลองตั้งตัวเปนพระเจ้าอลองพราญี
๒๕๕
พระเจ้าอลองพราญีตีเมืองหงษาวดี
น่า
๒๕๖
พระยาหงษาวดียอมอ่อนน้อมต่อพระเจ้าอลอง
๒๕๗
พระเจ้าอลองงดการรบ
๒๕๗
ขุนนางมอญไม่ยอมอ่อนน้อม คบกันออกปล้นค่ายพม่า
๒๕๗
พระเจ้าอลองกลับตีเมืองหงษาวดี
๒๕๗
พระเจ้าอลองได้เมืองหงษาวดี
๒๕๘
ฟ้าผ่าเมืองรัตนสิงควันเดียว ๑๖ แห่ง
๒๕๙
พระเจ้าอลองยกมาตีกรุงศรีอยุทธยา
๒๕๙
ได้ข่าวทัพพม่าตีได้เมืองทวาย
๒๖๐
ให้พระยายมราช พระยารัตนาธิเบศร์ ยกไปตั้งรับพม่าที่เมืองกุย
๒๖๐
ขุนรองปลัด (ชู) กับไพร่ ๔๐๐ รับอาสาศึกตั้งเปนกองอาจสามารถไปรบพม่า
๒๖๐
เกณฑ์เลขมารักษาพระนครแลย้ายครัวเข้าป่า
๒๖๐
พม่าตีได้เมืองมฤต เมืองตนาวศรี
๒๖๑
ทัพพระยายมราชแตกพม่า
๒๖๑
ขุนรองปลัด (ชู) รบพม่า
๒๖๑
พระยารัตนาธิเบศร์ยกหนีพม่า
๒๖๑
ทัพพม่าเข้ามาถึงเมืองสุพรรณบุรี
๒๖๒
ขุนนางแลราษฎรเชิญพระเจ้าอุทุมพรให้ลาผนวช
๒๖๒
พระเจ้าอุทุมพรลาผนวชออกมาบัญชาการรักษาพระนคร
๒๖๒
กวาดครัวเข้าพระนคร
๒๖๒
ก่อกำแพงเมืองริมน้ำข้างวังอิกชั้น ๑
น่า
๒๖๒
ให้เจ้าพระยามหาเสนาเปนแม่ทัพไปตั้งรับพม่าที่ลำน้ำเอกราช
๒๖๒
จับพระยามนตรีจับจมื่นศรีสรรักษ์ลงพระราชอาญา
๒๖๒
กองทัพไทยที่ลำน้ำเอกราชแตกพม่า
๒๖๓
พระเจ้าอลองเข้ามาตั้งบางกุ่ม บ้านกระเดื่อง
๒๖๓
พวกจีนบ้านนายก่ายเข้ามาอาสารบพม่า
๒๖๓
ให้จมื่นทิพเสนายกกองทัพหนุนทัพจีน
๒๖๔
กองจีนแลจมื่นทิพเสนาแตกพม่า
๒๖๔
พม่าเข้ามาตั้งถึงพเนียด
๒๖๔
ถอยเรือหลวงแลเรือลูกค้าหลบพม่าไปรวมไว้ท้ายคู
๒๖๔
พม่าตามไปเผาเรือแลฆ่าคนที่หลบหนีไปอยู่ท้ายคู
๒๖๔
พม่าเอาปืนใหญ่ตั้งที่วัดราชพฤกษ์ วัดกระษัตรา ยิงเข้าไปในเมือง
๒๖๔
พม่าเอาปืนใหญ่ตั้งวัดน่าพระเมรุยิงเข้าไปในวัง
๒๖๕
พระเจ้าอลองถูกปืนแตก เลิกทัพพม่ากลับไปทางเหนือ
๒๖๕
พระเจ้าอลองสิ้นพระชนม์ที่ตำบลเมาะกะโลก
๒๖๕
ให้พระยายมราช พระยาสีหราชเดโช ตามทัพพม่าไม่ทัน
๒๖๕
มังระ ราชบุตร ถวายพระเพลิงศพพระเจ้าอลอง
๒๖๕
แมงละแมงข่อง แม่ทัพหลังพม่า คิดขบถ ยึดเมืองอังวะ ตั้งแขงเมือง
๒๖๖
มังลอก ราชบุตรใหญ่ ได้ข่าวว่า รามัญเปนขบถ ให้ฆ่ารามัญในเมืองรัตนสิงคเสียเปนอันมาก
๒๖๖
มังลอกให้โหรทำนายหาตัวแม่ทัพปราบแมงละแมงข่อง
น่า
๒๖๖
ได้รามัญชื่อ หยั่งมิ ต้องลักษณเปนแม่ทัพ
๒๖๖
พม่าตีเมืองอังวะไม่ได้
๒๖๗
หยั่งมิทำวิทยาคมรบชนะแมงละแมงข่อง
๒๖๗
มังลอกเสวยราชย์เปนพระเจ้ากรุงพม่า
๒๖๙
เจ้าเมืองตองอูแขงเมือง พระเจ้ามังลอกตีได้เมืองตองอู
๒๖๙
ไทยขุดเก็บปืนในค่ายพม่า
๒๖๙
พระเจ้าอุทุมพรถวายพระองค์เจ้าแมลงเม่าเปนพระมเหษีสมเด็จพระเชษฐาธิราช
๒๗๐
พระเจ้าแผ่นดินแสดงความไม่พอพระไทยในพระเจ้าอุทุมพร
๒๗๐
พระเจ้าอุทุมพรออกทรงผนวชเสียอิก
๒๗๐
ซ่อมแซมพระที่นั่งสุริยามรินทร์
๒๗๐
พวกรามัญสวามิภักดิ์อพยพหนี แล้วเข้าตีเมืองนครนายก
๒๗๐
ให้พระยาสีหราชเดโชเปนแม่ทัพไปปราบพวกรามัญ
๒๗๐
พวกรามัญเอาไม้ขว้างทัพพระยาสีหราชเดโชแตก
๒๗๐
ให้พระยายมราช พระยาเพ็ชรบุรี ยกไปปราบรามัญ
๒๗๑
พวกรามัญแตกหนีไปทางเมืองหล่มศักดิ์
๒๗๑
น้ำแดงครั้งที่ ๑
๒๗๑
พระเจ้ามังลองให้กองทัพมาตีเมืองเชียงใหม่
๒๗๑
เจ้าเมืองลำพูนไชยหนีพม่ามาพึ่งพระบารมี
๒๗๑
พระยาจันท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ สวามิภักดิ์ ขอกองทัพช่วยรบพม่า
๒๗๑
ให้เจ้าพระยาสุรสีห์ยกไปช่วยเชียงใหม่ไม่ทัน
๒๗๑
พม่าให้อาปรกามนีอยู่รักษาเมืองเชียงใหม่
น่า
๒๗๒
พระอริยมุนี พระวิสุทธาจารย์ พระวรญาณมุนี กลับจากลังกา
๒๗๒
กรมหมื่นเทพพิพิธอยู่ลังกา คนนับถือมาก
๒๗๒
พวกกังขาขบถ คิดจะถวายราชสมบัติแก่กรมหมื่นเทพพิพิธ
๒๗๓
พระเจ้ากรุงลังกาให้จับกรมหมื่นเทพพิพิธ
๒๗๓
กรมหมื่นเทพพิพิธหนีจากลังกาไปอาไศรยเมืองเทศ
๒๗๓
กรมหมื่นเทพพิพิธได้ข่าวว่าเสียกรุง จึงมาเมืองมฤต
๒๗๓
ให้ข้าหลวงออกไปคุมกรมหมื่นเทพพิพิธไว้ที่เมืองมฤต
๒๗๓
พระเจ้ามังลอกสิ้นพระชนม์
๒๗๓
มังระ ราชอนุชา ได้ราชสมบัติลงมาอยู่เมืองอังวะ
๒๗๔
พระเจ้าอังวะตีเมืองมณีบุร คือ เมืองกระแซ
๒๗๔
พม่าขัดเสบียง ต้องกลับ
๒๗๔
หุยตองจาทวายเปนขบถต่อพม่า ตีได้เมืองทวาย ขอมาขึ้นกรุงดังเก่า
๒๗๔
น้ำแดงครั้งที่ ๒
๒๗๔
เสด็จพระฉายแลพระบาท
๒๗๔
ให้ฟั่นเชือกน้ำมันไว้เตรียมการศึก
๒๗๕
พระเจ้ามังระเตรียมทัพมาตีกรุงศรีอยุทธยา
๒๗๕
ให้มังมหานรทาเปนแม่ทัพมาทางเมืองทวาย
๒๗๕
ให้เนเมียวมหาเสนาบดีเปนแม่ทัพมาทางเหนือ
๒๗๕
พม่าตีได้เมืองทวาย
๒๗๕
ที่กรุงได้ข่าวศึกพม่า
๒๗๖
พม่าตีได้เมืองตนาวศรี เมืองมฤต
น่า
๒๗๖
พม่าเข้ามาเผาเมืองชุมพร มาตีเมืองปทิว เมืองกุย เมืองปราณ
๒๗๖
กรมหมื่นเทพพิพิธกับหุยตองจาหนีเข้ามาเมืองเพ็ชรบุรี
๒๗๖
ให้ส่งกรมหมื่นเทพพิพิธไปไว้เมืองจันทบุรี หุยตองจาไปไว้เมืองชลบุรี
๒๗๖
ให้พระพิเรนทรเทพยกไปตั้งรับพม่าที่เมืองกาญจนบุรี
๒๗๖
ทัพมังมหานรทาตีกองทัพพระพิเรนทรเทพแตก
๒๗๖
พม่ายกมาตั้งต่อเรืออยู่ที่ดงรัง หนองขาว ปี ๑
๒๗๗
พม่าได้เมืองราชบุรี เมืองเพ็ชรบุรี
๒๗๗
แต่งกองทัพไปตั้งค่ายรับพม่าในแขวงเมืองราชบุรี
๒๗๗
เกณฑ์คนหัวเมืองเหนือแลฝ่ายตวันออกเข้ามารักษาพระนคร
๒๗๗
แต่งกองทัพรักษาเมืองธนบุรี เมืองนนทบุรี
๒๗๗
เจ้าพระยาพิศณุโลกทูลลากลับขึ้นไปปลงศพมารดา
๒๗๗
กองทัพพม่าฝ่ายเหนือมาตั้งต่อเรือที่เมืองกำแพงเพ็ชร
๒๗๘
สั่งเจ้าพระยาพิศณุโลกให้ไปรบพม่าทางเหนือ
๒๗๘
พม่าลงมาตั้งเมืองนครสวรรค์
๒๗๘
พม่าตีได้เมืองสวรรคโลก เมืองศุโขไทย
๒๗๘
เจ้าพระยาพิศณุโลกยกไปช่วยเมืองศุโขไทย
๒๗๘
เจ้าฟ้าจีดหนีโทษจากกรุงขึ้นไปเมืองพิศณุโลก
๒๗๘
เจ้าฟ้าจีดชิงเอาเมืองพิศณุโลก
๒๗๙
เจ้าพระยาพิศณุโลกยกทัพกลับมารบเจ้าฟ้าจีด
๒๗๙
เจ้าพระยาพิศณุโลกจับเจ้าฟ้าจีดถ่วงน้ำเสีย
น่า
๒๗๙
ชาวเมืองลำพูนไชยที่สวามิภักดิ์อพยพหนี
๒๗๙
พม่าตีทัพไทยที่เมืองราชบุรีแตก แล้วเข้ามาตีเมืองธนบุรี
๒๘๐
พระยารัตนธิเบศร์ แม่ทัพรักษาเมืองธนบุรี หนีพม่า
๒๘๐
กองทัพนครราชสิมาที่รักษาเมืองธนบุรียกกลับไปเมือง
๒๘๐
กำปั่นพ่อค้าอังกฤษรับช่วยรบพม่า
๒๘๐
พม่าเข้ามารักษาเมืองธนบุรี
๒๘๐
พม่ารบกับกำปั่นอังกฤษที่เมืองธนบุรี
๒๘๐
พระยายมราชหนีพม่าจากเมืองนนทบุรี
๒๘๐
พม่าตั้งค่ายที่วัดเขมา
๒๘๐
กำปั่นอังกฤษรบพม่าที่เมืองนนทบุรี
๒๘๑
นายกำปั่นอังกฤษขอปืนใหญ่กับเรือพายช่วยรบพม่า
๒๘๑
กำปั่นอังกฤษแล่นหนีออกทเลไป
๒๘๑
ทัพพม่าทางเหนือมารวมที่เมืองกำแพงเพ็ชร
๒๘๒
ทัพพม่าทางใต้เข้ามาตั้งถึงสีกุก บางไทร
๒๘๒
ทัพพม่าทางเหนือเข้ามาตั้งที่ปากน้ำประสบ
๒๘๒
ทัพพม่าหนุนเข้ามาทางเมืองอุไทยธานีอิกกอง ๑
๒๘๒
พม่ามาตั้งที่เมืองวิเศษไชยชาญแลขนอนหลวงวัดโปรดสัตว
๒๘๓
พม่าเกลี้ยกล่อมไทยชาวหัวเมืองให้เข้าด้วย
๒๘๓
พม่ากดขี่ไทยที่เข้าเกลี้ยกล่อม
๒๘๓
พระอาจารย์ธรรมโชติกับพวกไทยหัวเมืองตั้งค่ายสู้พม่าที่บางระจัน
๒๘๓
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๑
น่า
๒๘๔
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๒
๒๘๔
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๓
๒๘๔
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๔
๒๘๔
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๕
๒๘๔
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๖
๒๘๖
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๗
๒๘๖
ชาวพระนครเชิญพระเจ้าอุทุมพรให้ลาผนวชอิก
๒๘๖
พระเจ้าอุทุมพรไม่ลาผนวช
๒๘๗
ให้พระยาพระคลังยกทัพไปรบพม่าช่วยไทยบางระจัน
๒๘๗
พม่าอุบายตีกองทัพพระยาพระคลังแตก
๒๘๘
พระนายกองรับอาสาพม่าไปตีค่ายไทยบางระจัน
๒๘๘
ไทยบางระจันตีพม่าแตกครั้งที่ ๘
๒๘๘
ไทยบางระจันขอปืนใหญ่กระสุนดินดำต่อกรุง
๒๘๙
พระยารัตนาธิเบศร์ออกไปเรี่ยรายหล่อปืนใหญ่ที่บางระจัน
๒๙๐
เสียค่ายบางระจันแก่พม่า
๒๙๐
สมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์ ๒ พระองค์ต่อกัน
๒๙๑
กรมหมื่นเทพพิพิธรวมพลยกจากเมืองจันทบุรีเข้ามาตั้งอยู่เมืองปาจิณบุรี
๒๙๑
คนในกรุงพากันไปเข้ากับกรมหมื่นเทพพิพิธมาก
๒๙๑
พม่ายกไปตีกรมหมื่นเทพพิพิธแตกหนีไปเมืองนครราชสิมา
๒๙๒
มังมหานรทา แม่ทัพพม่า ตาย
๒๙๒
ปกันหวุ่นเปนแม่ทัพแทนมังมหานรทา
น่า
๒๙๓
เนเมียวมหาเสนาบดีได้เปนแม่ทัพใหญ่
๒๙๓
พม่าเข้ามาตั้งค่ายที่โพธิ์ ๓ ต้น
๒๙๓
พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้งที่ภูเขาทองแลวัดท่าการ้องยิงเข้าไปในกรุง
๒๙๓
แต่งทัพเรือไปรบพม่าที่วัดท่าการ้อง
๒๙๔
พม่ายิงถูกนายเริกตายคนเดียว ทัพเรือถอย
๒๙๔
พม่าเข้ามาตั้งหอรบที่วัดพลับพลาไชย วัดเต่า วัดสุเรนทร์ วัดแดง เอาปืนยิงเข้าไปในกรุง
๒๙๔
พระยาตากสินได้เลื่อนที่เปนพระยากำแพงเพ็ชร
๒๙๔
ใหพระยากำแพง (สิน) เปนแม่ทัพ พระยาเพ็ชรบุรีเปนทัพน่า ยกทัพเรือไปสังกัดตีพม่าทุ่งวัดสังฆาวาศ
๒๙๔
พระยาเพ็ชรบุรีเข้าตีทัพพม่า
๒๙๔
พระยากำแพง (สิน) ไม่ช่วย ทัพพระยาเพ็ชรบุรีแตก
๒๙๕
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่วัดพิไชย ไม่กลับเข้าเมือง
๒๙๕
กองทัพกรุงออกไปตั้งสู้พม่าที่วัดไชยวัฒนาราม
๒๙๕
กองทัพจีนนายก่ายยกไปตั้งสู้พม่าที่คลองสวนพลู
๒๙๕
พระยาแพร่ (มังไชย) เอาใจออกหากหนีพม่า
๒๙๕
ไฟไหม้ในพระนคร
๒๙๖
พระยากำแพง (สิน) ยกหนีออกบ้านนอก
๒๙๖
พม่ายกตามพระยากำแพง (สิน)
๒๙๖
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๑
๒๙๖
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๒
๒๙๖
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๓
น่า
๒๙๗
พระยากำแพง (สิน) ยกไปตั้งอยู่บ้านกง
๒๙๗
พวกขุนหมื่นนายบ้านกงไม่เข้าด้วยพระยากำแพง (สิน)
๒๙๗
พระยากำแพง (สิน) ตีค่านบ้านกงแตก
๒๙๗
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่นาเริ่ง แขวงเมืองนครนายก
๒๙๘
พระยากำแพง (สิน) ไปตั้งอยู่ด่านกบแจะ แขวงเมืองปาจิณบุรี
๒๙๘
พม่ายกตามพระยากำแพง (สิน)
๒๙๘
พระยากำแพง (สิน) ชนะพม่าครั้งที่ ๔
๒๙๙
จีนค่ายสวนพลูไปลักเงินทองแลเผาพระมณฑปพระพุทธบาท
๒๙๙
พม่าเผาปราสาทที่พเนียด
๓๐๐
พม่าเข้ามาตั้งค่ายริมคูเมือง เอาปืนยิงเข้าไปในพระนคร
๓๐๐
เกิดโจรผู้ร้ายชุกชุมในพระนคร
๓๐๐
ยิงปืนใหญ่โต้กับพม่า
๓๐๐
ให้ออกไปเจรจาความเมืองกับพม่า
๓๐๐
พม่าไม่ยอมเปนไมตรี
๓๐๑
พม่าตีได้ค่ายไทยวัดไชยวัฒนาราม
๓๐๑
พม่าตีได้ค่ายจีนคลองสวนพลู
๓๐๑
พม่าทำสพานเรือกข้ามคูเมืองที่หัวรอ
๓๐๑
พม่าขุดอุโมงค์ทำลายกำแพงเมือง
๓๐๒
พม่าเข้าปล้นพระนคร
๓๐๒
เสียพระนครแก่พม่า
๓๐๒
พระเจ้าแผ่นดินหนีไปซ่อนอยู่บ้านจิก
๓๐๒
พม่าจับผู้คนแลริบทรัพย์สิ่งของ
น่า
๓๐๓
พม่าตั้งพระนายกองอยู่รักษากรุงกับมองยา
๓๐๓
พม่ากวาดคนแลเก็บทรัพย์กลับไปเมือง
๓๐๔
พม่าระเบิดปืนพระพิรุณเสียที่วัดเขมา
๓๐๔
พม่าตั้งนายทองอินเปนเจ้าเมืองธนบุรี
๓๐๔
พม่าเอาเรือกิ่งไปด้วยลำ ๑
๓๐๔
พระเจ้ามังระให้ปกันหวุ่นเปนเจ้าเมืองเมาะตมะ
๓๐๕
พระเจ้ามังระตั้งเนเมียวเปนอโยทธยาหวุ่น
๓๐๕
พระเจ้ามังระให้สึกพระเจ้าอุทุมพรออกเปนฆราวาศ
๓๐๕
พระเจ้ามังระให้ราชวงษ์ไทยอยู่ที่เมืองจักไก
๓๐๕

  1. ความซ้ำกับน่า ๑๗

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก