กฎหมายไทย คือ
พระราชบัญญัติและประกาศ
ซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผู้ทรงพระคุณธรรมอันประเสริฐ
เล่ม ๕
หลวงรัตนาญัปติ (เปล่ง)
อธิบดีกรมอัยการในกระทรวงยุติธรรม
เปนผู้รวบรวมเอามาลงพิมพ์
ไว้เปนสมุดเล่มเดียวกันเพื่อให้เปน
ประโยชน์แก่การพิจารณาพิพากษาคะดีทั้งปวง
ตีพิมพ์ที่โรงพิมพ์วิชากร บ้านหม้อ
ถนนเฟื่องนคร กรุงเทพฯ
ราคาเล่มละ ๘ บาท
รัตนโกสินทรศก ๑๑๔

สารบานน่า
๓๐๕ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันมีเกียรติยศมงกุฎสยาม รวม ๓๒ มาตรา รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ น่า ๑๖๐๒
๓๐๖ พระราชบัญญัติเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันเปนโบราณราชมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ รวม ๒๕ มาตรา รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ น่า ๑๖๑๙
๓๐๗ พระราชบัญญัติตั้งศาลรับสั่งเปนศาลพิเศศครั้งหนึ่งสำหรับคนในบังคับสยามที่ต้องหาว่ากระทำความร้ายผิดกฎหมายที่ทุ่งเชียงคำ และที่แก่งเจ็ก เมืองคำมวน รวม ๒๙ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ น่า ๑๖๓๗
๓๐๘ ประกาศ ว่าด้วยไม่ให้กักขังคนที่จะกลับไปบ้านเมืองของคนในฝั่งซ้ายฟากตวันออกแม่น้ำโขง รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ น่า ๑๖๕๐
๓๐๙ ประกาศศาลโบริสภา ว่าด้วยน่าที่พลตระเวรรักษาท้องถนน รวม ๑๑ ข้อ จุลศักราช ๑๒๔๙ น่า ๑๖๕๓
๓๑๐ ประกาศกระทรวงพระนครบาล ว่าด้วยห้ามมิให้ถือไม้พลองกระบองสั้นในท้องถนน รวม ๒ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๖๖๐
๓๑๑ ประกาศแจ้งความ เรื่อง ชำระความพระยอด รวม ๑๓ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๖๖๒
๓๑๒ พระราชบัญญัติสำหรับเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงษ์ รวม ๒๖ มาตรา รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ น่า ๑๖๗๑
๓๑๓ ประกาศตั้งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๐๕
๓๑๔ กฎเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยมิให้ศาลอุทธรณ์เรียกค่าธรรมเนียมความอุทธรณ์จากผู้พิพากษาศาลที่ต้องอุทธรณ์ รวม ๒ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๐๖
๓๑๕ ประกาศเปลี่ยนตำแหน่งเสนาบดี รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๑๐
๓๑๖ ประกาศจัดปันน่าที่กระทรวงกระลาโหมมหาดไทย รวม ๕ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๑๑
๓๑๗ ประกาศตั้งศาลโบริสภาเปนศาลกองตระเวรสำหรับกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้นอีกสามศาล รวม ๖ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๑๔
๓๑๘ ประกาศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสวรรคต รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๒๑
๓๑๙ พระราชบัญญัติรัฐมนตรี รวม ๑๒ มาตรา รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๒๒
๓๒๐ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๓๐
๓๒๑ ประกาศตราสำหรับตำแหน่ง รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๗๓๔
๓๒๒ พระราชบัญญัติลักษณพยาน รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ คือ
พระราชปรารภ
หมวดที่ว่าด้วยชื่อพระราชบัญญัติ แลอธิบาย และยกกฎหมายเดิม
หมวดที่ว่าด้วยคนจำพวกใดควรอ้างเปนพยานได้
หมวดที่ว่าด้วยวิธีสืบพยาน ๓ ประการ
หมวดที่ว่าด้วยลักษณอ้างสรรพหนังสือต่าง ๆ เปนพยาน
หมวดที่ว่าด้วยลักษณกะประเด็นข้อสืบสักขีพยานมาประกอบเอาความจริงลงในคำชี้สองสฐาน
หมวดที่ว่าด้วยสืบพยานนอกกรุงเทพฯ และศาลหัวเมืองสืบพยานในกรุงเทพฯ
หมวดที่ว่าด้วยโทษละเมิดอำนาจเจ้าพนักงาน
หมวดที่ว่าด้วยโทษที่เกี่ยวข้องกับการสืบพยาน
หมวดที่ว่าด้วยกฎหมายเดิมซึ่งยังคงให้ใช้ต่อไป ยกเอามารวมไว้ในพระราชบัญญัตินี้ด้วย
ตาตะรางหมายเลข
ตาตะรางหมายเลข
ตาตะรางหมายเลข
รวม ๖๔ มาตรา น่า ๑๗๓๖
๓๒๓ ประกาศว่าด้วยแบ่งแขวงของศาลโปริสภาทั้ง ๔ ศาลในกรุงเทพฯ รวม ๔ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๘๑๑
๓๒๔ ประกาศเลิกอากรกอไม้ไผ่สีสุก รัตนโกสินทรศก ๑๑๓ น่า ๑๘๑๔
๓๒๕ ประกาศห้ามตั้งร้านขายห่วงโยนห่วงฬ่อลวงเปนการพนัน จุลศักราช ๑๒๔๕ น่า ๑๘๑๖
๓๒๖ พระราชบัญญัติสำหรับเครื่องราชอิศิริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรกรีบรมราชวงษ์ แก้ไขใหม่ ร,ศ, ๑๑๔ น่า ๑๘๑๗
๓๒๗ พระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยาม รัตนโกสินทรศก ๑๑๐ คือ
ข้อธงบรมราชวัชมหาสยามินทร์สำหรับแผ่นดินกรุงสยาม
ข้อธงจุฑาธิปไตย คือ ราชธวัชสำหรับแผ่นดินกรุงสยาม
ข้อธงเยาวราชธวัชสำหรับราชตระกูล
ข้อธงไชยเฉลิมพลสำหรับกองทหาร
ข้อธงช้างเผือกทรงเครื่องยืนแทนสำหรับผู้แทนพระองค์พระเจ้าแผ่นดินฤๅผู้แทนเคาเวินเมนต์
ข้อธงช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นสำหรับกงสุลประจำราชการต่างประเทศ
ข้อธงช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นสำหรับผู้ซึ่งไปราชการและผู้ว่าราชการเมือง
ข้อธงช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นสำหรับเรือพระที่นั่งแลเรือรบหลวง
ข้อธงเกตุสำหรับยศทัพเรือ
ข้อ๑๐ธงหางแซงแซวสำหรับหมายตำแหน่งยศนายพลเรือ
ข้อ๑๑ธงหางจรเข้สำหรับใช้ในเรือรบต่าง ๆ เปนที่หมายยศตำแหน่งผู้บังคับการ
ข้อ๑๒ธงช้างนำร่องสำหรับที่หมายชักขึ้นเมื่อใด นำร่องอยู่ที่นั้น
ข้อ๑๓ธงช้างชาติสยามสำหรับใช้ในเรือไปรเวศได้ทั่วไป รวม ๑๓ ข้อ น่า ๑๘๑๙
๓๒๘ ข้อบังคับสำหรับรัฐมนตรีสภาซึ่งที่ชุมนุมปฤกษาเรียบเรียงไว้ รัตนโกสินทรศก ๑๑๓
ข้อการนัดชุมนุม
ข้อรัฐมนตรีต้องมาชุมนุมตามกำหนดนัด
ข้อรัฐมนตรละไปเสียจากที่ชุมนุม
ข้อรัฐมนตรีละการชุมนุมโดยความจำเปน
ข้อรัฐมนตรีขาดชุมนุม
ข้อน่าที่ผู้เปนประธาน
ข้อน่าที่อุปนายก
ข้อน่าที่สภาเลขานุการ
ข้อผู้ช่วยสภาเลขานุการ
ข้อ๑๐การชุมนุมสองอย่าง
ข้อ๑๑๑ระเบียบการชุมนุม
ข้อ๑๒อ่านสอบทานรายวัน
ข้อ๑๓ระเบียบรายงาน
ข้อ๑๔อำนาจแลน่าที่รัฐมนตรีในที่ชุมนุม
ข้อ๑๕กิริยาของรัฐมนตรี
ข้อ๑๖อำนาจกล่าวข้อความ
ข้อ๑๗เคารพต่อผู้เปนประธาน
ข้อ๑๘การบอกล่วงน่าก่อนปฤกษาแลถาม
ข้อ๑๙คำซึ่งไม่ต้องบอกล่วงน่า
ข้อ๒๐ห้ามปฤกษาในคำถามที่มีตอบ
ข้อ๒๑ชี้ข้อความ
ข้อ๒๒ชี้แจงคำปฤกษา
ข้อ๒๓เขียนนำคำปฤกษา
ข้อ๒๔ระงับข้อความเวลาหนึ่ง
ข้อ๒๕ถามข้อความต่อที่ชุมนุม
ข้อ๒๖ถือเอาข้อความขึ้นอิก
ข้อ๒๗ข้อความวิเศศสำคัญ
ข้อ๒๘อ่านหนังสือ
ข้อ๒๙ระเรียบส่งกรรมการ
ข้อ๓๐ระเบียบคำต่าง ๆ
ข้อ๓๑ตั้งกรรมการวิเศศ กรรมการประจำ
ข้อ๓๒ผู้สมควรเปนกรรมการ
ข้อ๓๓เรียกประชุมกรรมการ
ข้อ๓๔รายงานกรรมการ
ข้อ๓๕รับรายงาน
ข้อ๓๖รายงานต้องเขียน
ข้อ๓๗คำสั่งถึงกรรมการ
ข้อ๓๘ที่ชุมนุมแห่งกรรมการ
ข้อ๓๙ผู้ชุมนุมนอกกรรมการ
ข้อ๔๐เติมข้อความ
ข้อ๔๑แบ่งข้อความเปนส่วน
ข้อ๔๒ผู้ใดควรจะกล่าวก่อน
ข้อ๔๓ตกลงกันโดยดุษณีภาพ
ข้อ๔๔ลักษณชี้ขาด
ข้อ๔๕ความสำเร็จการชี้ขาด
ข้อ๔๖ชี้ขาดแทนกัน
ข้อ๔๗รัฐมนตรีมาถึงเวลาชี้ขาดกัน
ข้อ๔๘ในการชุมนุมปฤกษาด้วยการทำกฎหมายนั้น ดังนี้ ฎีกาหมายแจกที่ชุมนุม
ข้อ๔๙ส่งฎีกาไปยังกรรมการหนึ่ง
ข้อ๕๐ฎีกากฎหมายล่วงแล้วไป
ข้อ๕๑คนนอกชุมนุม
ข้อ๕๒ต้องฟังคำเรื่องราวร้องขอ
ข้อ๕๓ถามคำพยาน
ข้อ๕๔การรบกวนผู้กล่าวข้อความ
ข้อ๕๕การรักษาความสามัคคีต่อที่ชุมนุม
ข้อ๕๖เรียกที่ชุมนุมกลับเข้าระเบียบ
ข้อ๕๗ผู้เปนประธานขอให้ชุมนุมตัดสินผู้ทำผิด
ข้อ๕๘ปฤกษาโทษผู้ทำผิด
ข้อ๕๙ลงโทษผู้ทำผิด
ข้อ๖๐การเลิกชุมนุมตามปรกติ
ข้อ๖๑การเลิกชุมนุมด้วยความจำเปน
ข้อ๖๒อำนาจแลน่าที่ผู้แทนสภานายก
ข้อ๖๓การงดข้อบังคับ
รวม ๖๓ ข้อ น่า ๑๘๒๖
๓๒๙ ประกาศในการเฉลิมพระชนม์พรรษา รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๕
๓๓๐ ประกาศเลิกศาลโบริสภาที่ ๔ รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๗
๓๓๑ ประกาศออกพระนามพระชนนีแห่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๙
๓๓๒ ประกาศตั้งกรรมการตรวจตัดสีนการนา รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๙
๓๓๓ ประกาศเครื่องราชอิศิริยาภรณ์สำหรับตระกูลจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๙
๓๓๔ ประกาศไม่ให้อุทธรณ์ความในระหว่างพิจารณายังไม่ได้ตัดสิน รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๖๙
๓๓๕ พระราชบัญญัติรัฐมนตรี เพิ่มเติม รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ รวม ๔ มาตรา น่า ๑๘๖๙
๓๓๖ พระธรรมนูญศาลหัวเมือง รัตนโกสินทรศก ๑๑๔
มาตรานามพระราชบัญญัติ
มาตรากำหนดให้ใช้
มาตราเลิกกฎหมายเก่า
มาตราชนิดศาลหัวเมือง
มาตราการตั้งศาลประจำ
มาตราการตั้งศาลพิเศศ
มาตราจำนวนผู้พิพากษาประจำศาล
มาตรากำหนดจังหวัดที่ซึ่งอยู่ในบังคับศาล
มาตราย้ายศาลไปชำระความตามท้องที่
มาตรา๑๐ชั้นผู้พิพากษา
มาตรา๑๑การตั้งและเปลี่ยนผู้พิพากษา
มาตรา๑๒อำนาจผู้พิพากษา ชั้นที่ ๓
มาตรา๑๓อำนาจผู้พิพากษา ชั้นที่ ๒
มาตรา๑๔อำนาจผู้พิพากษา ชั้นที่ ๑
มาตรา๑๕ผู้พิพากษามีอำนาจแต่เมื่อมีตำแหน่ง
มาตรา๑๖อำนาจศาลแขวง
มาตรา๑๗อำนาจศาลเมือง
มาตรา๑๘อำนาจศาลมณฑล
มาตรา๑๙คำพิพากษาโทษประหารชีวิตรและริบทรัพย์สมบัติ ต้องฃอรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต
มาตรา๒๐อุทธรณ์
มาตรา๒๑ผู้พิพากษาใหญ่รับผิดชอบอำนาจเหนือพนักงานในศาล
มาตรา๒๒น่าที่เฉพาะอธิบดีผู้พิพากษาศาลมณฑล
มาตรา๒๓ตั้งผู้แทนผู้พิพากษา
มาตรา๒๔ลงอาญาผู้แพ้คะดี
มาตรา๒๕ตั้งพนักงานอัยการ
มาตรา๒๖ตั้งผู้แทนพนักงานอัยการ
มาตรา๒๗อำนาจที่กำนันจะเปรียบเทียบความ
มาตรา๒๘อำนาจนายแขวงที่จะเปรียบเทียบความ
มาตรา๒๙คู่ความยอมตามเปรียบเทียบและมิยอม
มาตรา๓๐คู่ความยอมตามเปรียบเทียบแล้วไม่ทำตาม
มาตรา๓๑อำนาจศาลหัวเมืองที่จะเปรียบเทียบความ
มาตรา๓๒พนักงานจัดการรักษาพระราชบัญญัติ
รวม ๓๒ มาตรา น่า ๑๘๗๗
๓๓๗ ประกาศบอกศาลราชทัณฑ์พิเฉทมารวมอยู่ในศาลพระราชอาญา และรวมศาลแพ่งเกษม ศาลแพ่งไกสี เปนศาลแพ่ง รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๙๑
๓๓๘ ประกาศให้ลงโทษจำขังแทนโทษทวน รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๙๓
๓๓๙ ประกาศพระราชบัญญัติอากรการพนัน แก้ไขเพิ่มเติม รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๙๔
๓๔๐ กฎ เปนข้อบังคับอากรฝิ่น ตั้งโดยเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาติ รวม ๖ ข้อ รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ น่า ๑๘๙๖
๓๔๐ พระราชบัญญัติโรงจำนำ รัตนโกสินศก ๑๑๔
พระราชดำริห์
มาตรานามพระราชบัญญัติ
มาตรากำหนดให้ใช้
มาตราคนชนิดใดเปนผู้ตั้งโรงรับจำนำ
มาตราห้ามไม่ให้ตั้งโรงจำนำ เว้นไว้แต่ได้รับใบอนุญาตเสียก่อน กับกำหนดเจ้าพนักงานผู้ออกผู้คืนใบอนุญาต
มาตราคาใบอนุญาตให้ใช้ล่วงน่าทุกเดือน
มาตราใบอนุญาตกำหนดใช้ได้เพียงสิ้นปี
มาตราห้ามผู้รับจำนำไม่ให้ทำมาหากินอย่างอื่น
มาตรากำหนดเวลาจำนำแลไถ่
มาตรากระดานป้ายติดน่าโรงจำนำ
มาตรา๑๐การจดบาญชีของรับจำนำ
มาตรา๑๑ตั๋วรับจำนำ
มาตรา๑๒ไม่ให้รับจำนำเด็กแลภิกษุสามเณร
มาตรา๑๓อัตราดอกเบี้ย
มาตรา๑๔เขียนอัตราดอกเบี้ยปิดไว้
มาตรา๑๕กำหนดให้ไถ่ทรัพย์คืนไป
มาตรา๑๖ผู้ใดนำต้วจำนำมาขอไถ่ ต้องถือว่าผู้นั้นเปนเจ้าของ
มาตรา๑๗ทรัพยจำนำไว้ที่ไม่มีกำหนดไถ่ พ้นกำหนด ๓ เดือนไปแล้ว หลุดเปนสิทธิ และให้จำหน่ายทรัพยนั้นต่อเมื่อยื่นบาญชีแล้ว ๑๕ วัน
มาตรา๑๘ผู้รับจำนำต้องใช้เงินราคาทรัพยที่หายฤๅชำรุดเสียไป
มาตรา๑๙เมื่อใบอนุญาตครบกำหนดฤๅต้องคืนแล้ว เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตตั้งเจ้าพนักงานไปรักษาทรัพยที่จำนำไว้ได้
มาตรา๒๐น่าที่ของผู้รับจำนำจะต้องจับตัวคนผู้มาขอจำนำโดยมีกิริยาอันควรสงไสย
มาตรา๒๑ห้ามไม่ให้รับจำนำของหลวง
มาตรา๒๒เมื่อทรัพยสิ่งใดหายไป ให้พนักงานผู้รักษาท้องที่แจ้งความให้ผู้รับจำนำรู้ทั่วกัน ถ้าได้รับจำนำไว้ ต้องแจ้งให้ทราบ
มาตรา๒๓พลตระเวนเข้าค้นโรงจำนำตรวจของและบาญชีได้
มาตรา๒๔พลตระเวนตับตัวคนผู้มีอาการกิริยาอันน่าสงไสยมาได้
มาตรา๒๕ผู้รับจำนำเปนคนในบังคับต่างประเทศมีหนังสือสัญญา ต้องให้ได้รับอำนาจของกงสุลประเทศนั้น
มาตรา๒๖พิกัดโทษปรับไหมและจำไถ่โทษ
มาตรา๒๗ฟ้องในกำหนด ๓ เดือน
มาตรา๒๘โรงจำนำเก่าให้มารับใบอนุญาติพายใน ๒ เดือน
มาตรา๒๙พระราชกำหนดเดิมที่ไม่ใช้ในการรับจำนำตามพระราชบัญญัตินี้
อัตราที่
อัตราที่
รวม ๒๙ มาตรา น่า ๑๙๐๐
๓๔๒ พระราชกำหนดตั้งศาลรับสั่งพิเศษสำหรับชำระสะสางคะดีความที่มีโทษหลวงชั้นเก่าซึ่งค้างอยู่ณะศาลพระราชอาญาในกรุงเทพฯ ทั้งปวง รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๔ น่า ๑๙๒๓

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก