ไฟล์:ประชุมพงศาวดาร (ภาค ๑) - ๒๔๕๗.pdf

ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(2,916 × 3,889 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 79.38 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 453 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: A Collection of Chronicles

ไทย: ประชุมพงษาวดาร

 th:ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 1  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q13026749
image of artwork listed in title parameter on this page
บรรณาธิการ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  (1862–1943)  wikidata:Q1158913 s:th:ผู้สร้างสรรค์:สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ชื่ออื่น
Prince Damrong; Damrong Rachanuphap; Kromphraya Damrong Rachanuphap; Kromphraya Damrong Rajanubhab
คำอธิบาย Thai นักการเมือง, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, กวี และ เจ้าแผ่นดิน
วันเกิด/วันเสียชีวิต 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 แก้ไขที่วิกิสนเทศ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486 แก้ไขที่วิกิสนเทศ
สถานที่เกิด/สถานที่เสียชีวิต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
งานควบคุมรายการหลักฐาน
editor QS:P98,Q1158913
ชื่อเรื่อง
English: A Collection of Chronicles
ไทย: ประชุมพงษาวดาร
เล่มที่ 1
รุ่น 1
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q13026749
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q105592603
คำอธิบาย
English: The present volume consists of the following:
  1. Preface dated 1 April 2457 BE (1914 CE), written by Damrong Rachanuphap, prince of Siam.
  2. Phra Ratcha Phongsawadan Nuea ("Royal Chronicle of the North") — chronicle of the Sukhothai kingdom, which lied to the north of the Ayutthaya kingdom; written by a Siamese nobleman, Phra Wichianpricha (Noi), in 1169 LE (2350 BE, 1807/08 CE), at the behest of King Rama II of Siam.
  3. Phra Ratcha Phongsawadan Krung Kao Chabap Luang Prasoet ("Royal Chronicle of the Old Kingdom: Luang Prasoet Version") — chronicle of the Ayutthaya kingdom; written by an unknown author at the behest of King Narai in 2223 BE (1681 CE).
  4. Charuek Wat Chulamani ("Wat Chulamani Inscription") — a stele dated 826 LE (2007 BE, 1464/65 CE), discovered at Wat Chulamani, Phitsanulok; author(s) unknown.
  5. Charuek Pho-khun Ram Khamhaeng ("King Ram Khamhaeng Inscription") — a stele, the first part of which is believed to be an autobiography of King Ram Khamhaeng of the Sukhothai kingdom and dated 1835 BE (1292/93 CE), and the author(s) and date(s) of the rest of which are not known.
  6. Charuek Wat Si Chum ("Wat Si Chum Inscription") — a stele dated around 19–20th centuries BE (14–15th centuries CE); author(s) unknown.
  7. Charuek Nakhon Chum ("Nakhon Chum Inscription") — a stele dated 1900 BE (1357/58 CE); author(s) unknown.
  8. Phongsawadan Khamen Choso Phan Song Roi Sipchet ("Khmer Chronicle, 1217 LE") — see explanation at the description section of File:ราชพงศฯ เขมร - ๒๔๑๒.pdf.
  9. Phongsawadan Phama Raman ("Chronicle of the Bamar and the Raman") — chronicle of the Burmese and Mon kingdoms, written by a Siamese nobleman, Khun Sunthonwohan, and his team, in the year 1219 LE (2400 BE, 1857/58 CE), at the behest of King Rama IV of Siam.
  10. Phongsawadan Mueang Lan Chang ("Chronicle of the Kingdom of Million Elephants") — chronicle of the Lan Xang kingdom, written by a Siamese nobleman, Phraya Prachakitkorachak (Chaem Bunnak).
Note: "LE" stands for Lesser Era; "BE", Buddhist Era; "CE", Common Era.
ไทย: ภาคนี้ ประกอบด้วย
  1. คำนำ ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ ลงวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗
  2. พระราชพงศาวดารเหนือ พระวิเชียรปรีชา (น้อย) เรียบเรียงขึ้นในปีเถาะ จ.ศ. ๑๑๖๙ (พ.ศ. ๒๓๕๐) ตามรับสั่งของรัชกาลที่ ๒
  3. พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชรับสั่งเมื่อวันพุธ ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๕ ปีวอก จ.ศ. ๑๐๔๒ (ตรงกับวันพุธที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๒๒๓) ว่า ให้เรียบเรียงขึ้น ผู้ใดเรียบเรียง และเรียบเรียงเมื่อใด ไม่ปรากฏ
  4. จารึกวัดจุฬามณี จ.ศ. ๘๒๖ (พ.ศ. ๒๐๐๗) ไม่ปรากฏผู้แต่ง พบที่วัดจุฬามณี จังหวัดพิษณุโลก
  5. จารึกพ่อขุนรามคำแหง เนื้อความตอนต้น เชื่อว่า เป็นอัตชีวประวัติของพ่อขุนรามคำแหงและจัดทำขึ้นใน พ.ศ. ๑๘๓๕ ส่วนเนื้อความที่เหลือ ไม่ทราบผู้แต่งและปีที่แต่ง
  6. จารึกวัดศรีชุม พุทธศตวรรษ ๑๙–๒๐ ไม่ทราบผู้แต่ง
  7. จารึกนครชุม พ.ศ. ๑๙๐๐ ไม่ทราบผู้แต่ง
  8. พงศาวดารเขมร จ.ศ. ๑๒๑๗ ดูรายละเอียดที่คำอธิบายของ File:ราชพงศฯ เขมร - ๒๔๑๒.pdf
  9. พงศาวดารพม่ารามัญ ขุนสุนทรโวหาร และคณะ เรียบเรียงขึ้นในปีมะเส็ง จ.ศ. ๑๒๑๙ (พ.ศ. ๒๔๐๐) ตามรับสั่งของรัชกาลที่ ๔
  10. พงศาวดารเมืองล้านช้าง พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค) แต่ง แต่งเมื่อใดไม่ปรากฏ
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2456 หรือ 2457
publication_date QS:P577,+1914-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา
ไทย: โบราณคดีสโมสร (ผู้รวบรวม). (๒๔๕๗). ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทย. (สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา สมเด็จพระมาตุจฉา มีรับสั่งให้กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณรวบรวมพิมพ์เมื่อทรงบำเพ็ญพระกุศลในงานศพหม่อมเจ้าดนัยวรนุช ท.จ, พ.ศ. ๒๔๕๗).

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

คำบรรยายโดยย่อ

เพิ่มคำบรรยายทรรทัดเดียวเพื่อขยายความว่าไฟล์นี้มีอะไร

ไอเทมที่แสดงอยู่ในไฟล์นี้

ประกอบด้วย

media type อังกฤษ

application/pdf

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน16:17, 14 กันยายน 2563รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 16:17, 14 กันยายน 25632,916 × 3,889, 453 หน้า (79.38 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{en|1=Literary Society of Siam, Wachirayan Royal Library (collector)}} {{th|1=วรรณคดีสโมสร, หอพระสมุดวชิรญาณ (ผู้รวบรวม)}} from {{en|1=''Prachum phongsawadan phak thi nueng'' [Collection of historical archives, volume 1]. (1914). Bangkok: Thai Printing House At Yotse Bridge. [Printed by order of Her Majesty Queen {{w|Savang Vadhana|Sawang Watthana}}, His Majesty's Aunt, for distribution at the merit-making ceremony during the funeral...

มีหน้าที่ใช้ไฟล์นี้มากกว่า 100 หน้า รายการต่อไปนี้แสดงหน้าที่ใช้ไฟล์นี้ 100 หน้าแรกเท่านั้น มีรายการเต็ม

ดูการเชื่อมโยงมายังไฟล์นี้เพิ่มเติม

การใช้ไฟล์ข้ามโครงการ

วิกิอื่นต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์